หลายประเทศเรียกร้องลงโทษนายทหารเมียนมากดขี่โรฮิงญา
หลายประเทศรวมทั้งสหรัฐเรียกร้องให้นำนายทหารเมียนมาที่ถูกกล่าวหาว่าบงการการกดขี่ชาวโรฮิงญามารับโทษจากนานาชาติ
หลายประเทศรวมทั้งสหรัฐเรียกร้องให้นำนายทหารเมียนมาที่ถูกกล่าวหาว่าบงการการกดขี่ชาวโรฮิงญามารับโทษจากนานาชาติ
คณะผู้ตรวจสอบของสหประชาชาติกล่าววันนี้ว่ากองทัพเมียนมาลงมือสังหารหมู่และก่อเหตุรุมโทรมชาวมุสลิมโรฮิงญา โดยมีเป้าประสงค์ในการล้างเผ่าพันธุ์
เมียนมา 31 ก.ค.-รัฐบาลเมียนมาตั้งคณะกรรมการอิสระขึ้นมาเพื่อสอบสวนข้อกล่าวหาเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนชนกลุ่มน้อยชาวโรฮิงญา คณะกรรมการประกอบไปด้วยสมาชิก 4 คน โดยสองคนเป็นชาวต่างชาติได้แก่ นายเคนโซะ โอชิมะ อดีตเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำสหประชาชาติ และนายโรซาริโอ มานาโล อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ ทหารเมียนมาถูกกล่าวหาว่าสังหารหมู่และกระทำละเมิดต่อชาวโรฮิงญาในระหว่างการปราบปรามเมื่อปีที่แล้ว แต่รัฐบาลเมียนมาปฏิเสธข้อกล่าวหานี้.-สำนักข่าวไทย
คณะมนตรีตความมั่นคงแห่งสหประชาชาติออกแถลงการณ์เรียกร้องให้เมียนมาเพิ่มความพยายามในการรับผู้อพยพชาวโรฮิงญากลับประเทศอย่างปลอดภัยและโดยสมัครใจ
ดร.กอบศักดิ์ ชุติกุล อดีต สส.ของไทยลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการคณะที่ปรึกษานานาชาติว่าด้วยโรฮิงญาในเมียนมาแล้ว
พล.อ.ประวิตร เผยตำรวจจับกุมขบวนการลักลอบนำโรฮิงญาเข้าประเทศได้ ให้ทางตำรวจแถลงรายละเอียดการปฏิบัติการ ด้านโฆษกกระทรวงกลาโหม ระบุผลการดำเนินงานแก้ปัญหาการค้ามนุษย์สามารถ ยกระดับความเชื่อมั่นทางการค้าของไทย ย้ำระบบราชการต้องแข็งแรงเพื่อ ปิดช่องว่างปัญหาค้ามนุษย์ สู่ความยั่งยืนให้ได้
สหภาพยุโรปกล่าววันนี้เรียกร้องให้เมียนมายกเลิกข้อกล่าวหาผู้สื่อข่าวชาวเมียนมา ของสำนักข่าวรอยเตอร์ส 2 คน หลังจากศาลเมียนมา ตั้งข้อหาว่านักข่าวทั้งสอง
ทหารรุดช่วยชาวโรฮิงญา 22 คน และชาวเมียนมา 2 คน ถูกขบวนการค้ามนุษย์ทิ้งบนเขาอดน้ำ-ข้าว 6 วัน เตรียมดูแลตามหลักสิทธิมนุษยชน
นักการทูตและเจ้าหน้าที่ของสหภาพยุโรป หรือ อียู เปิดเผยวานนี้ว่า อียูจะลงโทษเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคงของเมียนมา 7 คน
กลุ่มพระสงฆ์สายแข็งกร้าวในเมียนมาประกาศจะใช้เฟซบุ๊กเป็นช่องทางเผยแพร่ข้อมูลต่อไป แม้ถูกเฟซบุ๊กห้ามใช้งานเพราะโพสต์ข้อความกระตุ้นความเกลียดชังชาวมุสลิมโรฮิงญา
ที่ประชุมความมั่นคงเอเชีย กังวลปัญหาการขยายอิทธิพลทางทหารของจีน และเรียกร้องที่ประชุมให้ความสำคัญต่อวิกฤติผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญา เตือนหากไม่มีการจัดการอย่างเหมาะสม อาจทำให้ถูกชักจูงไปร่วมเครือข่ายไอเอส
สหประชาชาติกล่าวว่า รัฐบาลเมียนมาตัดสินใจเมื่อวานนี้ที่จะเปิดทางให้สหประชาชาติเดินทางเข้าไปยังรัฐยะไข่ หลังจากหาข้อยุติไม่ได้เกี่ยวกับการส่งตัวผู้อพยพชาวโรฮิงญา