เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 4 เดือน
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 4 เดือน จากความไม่แน่นอนการเมืองไทย ฟันด์โฟลว์ไหลออก รวมถึงถ้อยแถลงของประธานเฟด
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 4 เดือน จากความไม่แน่นอนการเมืองไทย ฟันด์โฟลว์ไหลออก รวมถึงถ้อยแถลงของประธานเฟด
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 3 เดือนครึ่ง ที่ 35.28 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ ก่อนจะกลับมาปิดตลาดที่ระดับ 35.21 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าต่อเนื่องจากระดับปิดตลาดวานนี้ที่ 35.04 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ
เงินบาทเปิดเช้านี้ที่ระดับ 34.77 บาทต่อดอลลาร์ อ่อนค่าสุดในรอบ 2 เดือน นักวิเคราะห์ชี้จับตาทิศทางการเมืองในประเทศ เพดานหนี้สหรัฐ และการประชุม กนง. 31 พ.ค.นี้
นนทบุรี 3 พ.ค.-กรมการค้าต่างประเทศเผยตัวเลขการใช้สิทธิประโยชน์จากความตกลง FTA ในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ปี 2566 การส่งออกไทยโดยรวมยังคงมีการใช้สิทธิฯ อย่างต่อเนื่อง โดยมีมูลค่ารวม 11,819.49 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สำหรับตลาดอาเซียนยังครองแชมป์อันดับ 1 ตามติดมาด้วยอาเซียน-จีน ไทย-ญี่ปุ่นไทย-ออสเตรเลีย อาเซียน-อินเดีย และภายใต้ กรอบ RCEP มีมูลค่าการใช้สิทธิฯ รวม 195.16 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
เงินบาทแต่ระดับแข็งค่าสุดในรอบ 3 สัปดาห์ ที่ 34.43 ก่อนจะกลับมาปิดตลาดที่ระดับ 34.54 บาทต่อดอลลาร์ เทียบกับระดับปิดตลาดวานนี้ที่ 34.61 บาทต่อดอลลาร์
เงินบาทเช้านี้ (14 มี.ค.66) เคลื่อนไหวประมาณ 34.60-34.62 บาทต่อดอลลาร์ฯ ในช่วงเช้า (08.49 น.) เทียบกับระดับปิดตลาดวานนี้ที่ 34.61 บาทต่อดอลลาร์ฯ
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 1 สัปดาห์ที่ 35.19 บาท/ดอลลาร์ฯ ในระหว่างวัน ก่อนจะกลับมาปิดตลาดที่ระดับ 35.08 บาท/ดอลลาร์ฯ อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับระดับปิดตลาดวันทำการก่อนหน้าที่ 34.56 บาท/ดอลลาร์ฯ
เงินบาทอ่อนค่าผ่านแนว 35.00 ไปที่ระดับ 35.07 บาทต่อดอลลาร์ฯ ซึ่งเป็นระดับอ่อนค่าสุดในรอบกว่า 2 เดือน หรือกว่า9 สัปดาห์ ในช่วงเช้าวันนี้ (10.00 น.) โดยเงินบาทระดับปิดตลาดวันทำการก่อนหน้าที่34.81 บาทต่อดอลลาร์ฯ
เงินบาทวันนี้แตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 1 เดือนครึ่งครั้งใหม่ที่ 34.62 บาท/ดอลลาร์ฯ ก่อนจะกลับมาปิดตลาดที่ระดับ 34.60 บาท/ดอลลาร์ฯ
เงินบาทอ่อนค่าไปที่ 34.35 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าสุดในรอบกว่า 1 เดือนครั้งใหม่ (นับตั้งแต่ 6 ม.ค.66) ก่อนจะกลับมาปิดตลาดที่ 34.32 บาท/ดอลลาร์ฯ อ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับระดับปิดตลาดวานนี้ที่ 33.81 บาท/ดอลลาร์ฯ
เงินบาทแข็งค่าผ่านแนว 32.70 บาท หลัง FED ขึ้นดอกเบี้ยอีก 0.25% ไปที่กรอบ 4.50-4.75% ตามที่ตลาดคาด
เอกชนห่วงค่าไฟ ทำต้นทุนการผลิตสูง เสนอลดค่าไฟ ft งวดที่ 2 เดือน พ.ค.-ส.ค. ชี้ค่าไฟต้องไม่เกิน 5 บาท