กินอยู่ปลอดภัย : ปัญหาขยะใน กทม.
รายงาน “กินอยู่ปลอดภัย” วันนี้ คุณธันยมัย อนันตกรณีวัฒน์ จะพาไปติดตามปัญหาขยะใน กทม. ว่ามีการบริหารจัดการอย่างไร
รายงาน “กินอยู่ปลอดภัย” วันนี้ คุณธันยมัย อนันตกรณีวัฒน์ จะพาไปติดตามปัญหาขยะใน กทม. ว่ามีการบริหารจัดการอย่างไร
กินอยู่ปลอดภัยวันนี้ คุณธันยมัย อนันตกรณีวัฒน์ จะพาคุณผู้ชมไปติดตามสภาพแวดล้อมของหาดบางแสน หลังสถานการณ์โควิด-19 ในประเทศไทยดีขึ้น
วิกฤติสุขภาพพระสงฆ์ไทย พบว่านับแสนรูปป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือเอ็นซีดี พุทธศาสนิกชนจะมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหานี้อย่างไร ติดตามจากรายงานกินอยู่ปลอดภัย
หลักของการกินอยู่ปลอดภัยคือทำอย่างไรให้เราปลอดภัย ไม่นำเชื้อปนเปื้อนเข้าร่างกาย ซึ่งโรงงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอาหารทั้งหมดต้องใช้หลัก FOOD SAFETY
ขยะล้นโลก ปัญหามลพิษ หมอกควัน PM2.5 เป็นเรื่องทั่วโลกให้ความใส่ใจ และหนึ่งในโจทย์ที่ร่วมแก้ปัญหาคือการผลิตบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ 100%
รายงานพิเศษ “กินอยู่ปลอดภัย” วันนี้ พาไปติดตามผลกระทบจากขยะบรรจุภัณฑ์ต่างๆ ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
รายงานพิเศษ “กินอยู่ปลอดภัย” วันนี้ “ธันยมัย อนันตกรณีวัฒน์” จะพาไปติดตามปัญหา “ขยะเดลิเวอรี่”กองโตที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ และทางเลือกของทุกคนที่สามารถช่วยลดขยะได้
บุคลากรทางการแพทย์เป็นผู้ที่ทำงานอย่างหนักช่วงการระบาดหนักของโรคโควิด-19 และยังทำงานต่อเนื่องเพื่อป้องกันการระบาดซ้ำรอบ 2 ไปดูตัวอย่างของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เลือกใช้ภาชนะอย่างไรในการมีส่วนร่วมป้องกันการติดเชื้อ ติดตามจากรายงาน “กินอยู่ปลอดภัย”
การดูแลสุขอนามัย เพื่อป้องกันการระบาดของโควิด-19 ต้องร่วมดำเนินการหลายด้าน และภาชนะที่ใช้ก็เป็นส่วนหนึ่งในการป้องกันการแพร่เชื้อ ป้องกันอย่างไร ติดตามจากรายงาน “กินอยู่ปลอดภัย”
สถานการณ์แพร่ระบาดของ “โควิด-19” คนไทยให้ความสำคัญและปรับตัวใส่ใจเรื่องสุขอนามัย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น ทุกวันจันทร์ ติดตามรายงานพิเศษ “กินอยู่ปลอดภัย” วันนี้เสนอเป็นตอนแรก