“ชูศักดิ์” บอก รอ กมธ.หารือ พ.ร.บ.ประชามติ
“ชูศักดิ์” บอก รอ กมธ.หารือ พ.ร.บ.ประชามติ หลัง “วันนอร์” ชี้ไม่ใช่กฎหมายการเงิน มองตามกฎหมายเข้า ม.138 วรรคท้าย เพราะใช้งบประมาณทำประชามติ
“ชูศักดิ์” บอก รอ กมธ.หารือ พ.ร.บ.ประชามติ หลัง “วันนอร์” ชี้ไม่ใช่กฎหมายการเงิน มองตามกฎหมายเข้า ม.138 วรรคท้าย เพราะใช้งบประมาณทำประชามติ
“พริษฐ์” เผยหารือประธานศาล รธน. ได้คำตอบชัดทำประชามติแก้ รธน. 2 ครั้ง เร่งหารือประธานสภาฯ พุธหน้า หวังทบทวน ปัดตอบ “ชูศักดิ์” เสนอตีความ พ.ร.บ.ประชามติ เป็นกฎหมายการเงินจะได้ไม่ต้องรอ 180 วัน มั่นใจถ้ายึดโรดแมปทำประชามติ 2 ครั้ง กรอบ 180 วันไม่เป็นปัญหา
“นิกร” เชื่อ พ.ร.บ.ประชามติ ไม่ทันเลือกตั้งท้องถิ่นต้นปีหน้า ขอใช้เวลาปิดสมัยประชุมสภาฯ ศึกษาให้เต็มที่ ลั่นรัฐธรรมนูญใหม่ไม่ทันสมัยรัฐบาลนี้ เลือกตั้ง 70 ยังใช้ฉบับเดิม
วุฒิสภามีมติแก้ร่าง พ.ร.บ.ประชามติ ให้ใช้เสียงลงมติ 2 ชั้นแก้รัฐธรรมนูญ สวนร่าง สส. ที่ใช้เสียงข้างมาก ด้าน กมธ.เสียงข้างน้อยห่วงแก้รัฐธรรมนูญ ทั้งฉบับไม่ทันสภาชุดนี้ และทำประชามติไม่ทันช่วงเลือก อบจ. ส่งผลเสียงบเพิ่มอื้อ
ปธ.สภาฯ ชี้ รัฐบาลใช้กฎหมายประชามติที่มีอยู่ได้ แต่ถ้าอยากแก้ก็เสนอเข้ามาช่วงเปิดวิสามัญได้ เชื่อปชช.ออกมาใช้สิทธิเกินครึ่ง
รัฐสภาผ่านร่าง พ.ร.บ.ประชามติ วาระ 2-3 รณรงค์ได้อย่างเสรี ประชาชนเข้าชื่อขอ ครม.ทำประชามติได้ เพิ่มวิธีการออกเสียงทางออนไลน์
“ชวน” เผยเตรียมประชุมรัฐสภา 22-24 มิ.ย. ยืนยันไม่เตะถ่วง พ.ร.บ.ประชามติ ระบุการแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นไปตามลำดับระเบียบวาระ
รัฐสภา ยืนจำนวนประชาชนที่จะเสนอทำประชามติที่ 5 หมื่นชื่อ เพื่อป้องกันความขัดแย้งในชุมชน แม้ฝ่ายค้านอยากให้ลดเหลือ 1 หมื่นชื่อ
“อนุทิน” มั่นใจ ส.ส.ภูมิใจไทย โหวตหนุนร่าง พ.ร.บ.ประชามติ ไม่ต้องกำชับสมาชิกพรรค เพราะเป็นมติที่รัฐบาลเห็นพ้อง
ทำเนียบ 26 มี.ค.-วิษณุ เผย คุยประธานสภาฯแล้ว ปมวันเปิดประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ พิจารณาร่างพ.ร.บ.ประชามติ ชี้ 7-8 เม.ย.เป็นวันที่เหมาะสม แต่สุดท้ายต้องดูความพร้อมของทุกฝ่าย
“ชวน”แจงเปิดประชุมวิสามัญ 7-8 เม.ย.นี้เหมาะสม ชี้เป็นสิทธิของรัฐบาลจะพิจารณา พ.ร.บ. ประชามติต่อหรือไม่
นายกฯ รับห่วงร่างพ.ร.บ.ประชามติ เพราะมีความสำคัญกับการแก้รัฐธรรมนูญขอทุกฝ่ายช่วยกันทำให้ออกมาดี