อย.บูรณาการหลายหน่วยงาน ลดบริโภคเกลือ-โซเดียม เพื่อลดโรค

อย.บูรณาการร่วมกับหลายหน่วยงาน สร้างความตระหนักรู้ให้ประชาชนลดการบริโภคเกลือและโซเดียม เพื่อลดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากความเค็ม

กรมอนามัย แนะวิธีเช็กโซเดียมใน 1 วัน ไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัม

กรมอนามัย แนะวิธีเช็กโซเดียมสำหรับประชาชนใน 1 วัน ไม่ควรบริโภคเกิน 2,000 มิลลิกรัม คิดอย่างไร ให้ไม่งง ย้ำลดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ตามหลัก 6: 6:1 คือ น้ำตาล น้ำมัน ไม่เกิน 6 ช้อนชา/วัน เกลือ ไม่เกิน 1 ช้อนชา/วัน

สหรัฐเสนอลดเค็มลดหวานในอาหารโรงเรียน

วอชิงตัน 4 ก.พ.- กระทรวงเกษตรของสหรัฐเสนอปรับปรุงอาหารโรงเรียนให้มีความเค็มและความหวานลดลง เพื่อแก้ไขปัญหาโรคอ้วนและให้นักเรียนได้รับประทานอาหารโรงเรียนที่มีคุณค่าทางโภชนาการ นายทอม วิลแซ็ก รัฐมนตรีเกษตรสหรัฐแถลงเมื่อวันศุกร์ว่า เด็กจำนวนมากไม่ได้รับสารอาหารที่จำเป็น และมีเด็กป่วยเพราะโรคที่เกี่ยวข้องกับอาหารเพิ่มมากขึ้น ผลการวิจัยพบว่า สำหรับเด็กส่วนใหญ่แล้ว อาหารโรงเรียนคือมื้อที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากที่สุดของวัน จึงเป็นมื้อสำคัญที่จะทำให้เด็กได้รับสารอาหารที่จำเป็นต่อการเติบโตที่ดี กระทรวงได้เสนอมาตรฐานใหม่ที่จะทำให้อาหารโรงเรียนทั่วประเทศที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลกลางต้องทยอยลดปริมาณโซเดียมรายสัปดาห์, จำกัดปริมาณน้ำตาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารน้ำตาลสูงอย่างโยเกิร์ตและซีเรียลที่เป็นอาหารเช้า, ให้เด็กรับประทานนมไขมันต่ำและนมไร้ไขมัน และเน้นธัญพืชแบบไม่ขัดสี กระรวงเกษตรระบุว่า แต่ละปีมีเด็ก 30 ล้านคนเข้าร่วมโครงการอาหารกลางวันโรงเรียนแห่งชาติที่จัดสรรอาหารฟรีหรือราคาถูกให้แก่โรงเรียนรัฐและโรงเรียนเอกชนที่ไม่สวงหากำไร และมีเด็ก 15 ล้านคนเข้าร่วมโครงการอาหารเช้าโรงเรียน กระทรวงจะเปิดให้ประชาชนแสดงความเห็นเป็นเวลา 60 วัน จากนั้นจะนำมาตรฐานใหม่นี้มาใช้กับภาคการศึกษาปี 2567-2568 โซเดียมเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ ขณะที่น้ำตาลทำให้เป็นโรคอ้วนและโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคของสหรัฐหรือซีดีซี (CDC) เผยว่า เยาวชนอเมริกันอายุ 2-19 ปี เป็นโรคอ้วนจำนวน 14 ล้าน 7 แสนคน หรือเกือบร้อยละ 20.-สำนักข่าวไทย

นักวิจัยญี่ปุ่นคิดค้นตะเกียบไฟฟ้าเพิ่มรสเค็มในอาหาร

คณะนักวิจัยญี่ปุ่นคิดค้นตะเกียบระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กระแสไฟฟ้าช่วยเพิ่มรสเค็มในอาหารได้ 1.5 เท่า โดยไม่ต้องใส่เกลือหรือเครื่องปรุง เพื่อให้ชาวญี่ปุ่นลดการบริโภคโซเดียมที่เป็นต้นเหตุของโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคภัยไข้เจ็บอื่นๆ

แพทย์เตือน “โซเดียม” ภัยเงียบจากของอร่อย

แพทย์เตือนบริโภคโซเดียมในปริมาณมากเกินกว่า 2,400 มิลลิกรัม หรือมากกว่า 1 ช้อนชาต่อวันจะทำให้ไตทำงานหนัก เสี่ยงต่อการเกิดความดันโลหิตสูง

ชัวร์ก่อนแชร์ : เตือนบะหมี่ใส่ “ไดโซเดียม” ฤทธิ์แรงกว่าผงชูรส จริงหรือ ?

สังคมออนไลน์แชร์เตือนให้ระวังบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่ระบุว่าไม่ใส่ผงชูรสแต่ที่จริงแล้วใส่ “ไดโซเดียม” หรือหัวเชื้อผงชูรส ซึ่งฤทธิ์แรงกว่าหลายสิบเท่า เรื่องนี้จริงหรือไม่ ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : เตือนระวังบะหมี่ใส่ “ไดโซเดียม” แรงกว่าผงชูรส จริงหรือ?

สังคมออนไลน์แชร์เตือนให้ระวังบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปที่ระบุว่าไม่ใส่ผงชูรส แต่ที่จริงแล้วใส่ “ไดโซเดียม” หรือหัวเชื้อผงชูรส ฤทธิ์แรงกว่าหลายสิบเท่า เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์สังคมออนไลน์แชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : 7 เรื่องดีๆ ของการดื่มน้ำเกลือทุกเช้า จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์แนะนำให้ดื่มน้ำเกลือทุกเช้า เพื่อประโยชน์ 7 ประการ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : อาหารที่กินแล้ว…ทำให้โง่ จริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์แชร์เตือนว่า มีอาหารบางประเภทที่กินแล้วจะทำให้ “โง่” เรื่องนี้จริงหรือไม่ ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : เครื่องวัดความเค็มในอาหาร เชื่อถือได้จริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์มีการตั้งข้อสงสัยเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของอุปกรณ์เครื่องวัดความเค็มในอาหาร ว่าจะได้มาตรฐานหรือไม่ ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : 10 เหตุผลน่ายี้ของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์บทความ 10 เหตุผลที่คนเราไม่ควรบริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ทั้งกระทบต่อระบบทางเดินอาหารจนถึงก่อโรคร้าย เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : กินหมูกรอบเสี่ยงโรคเพียบจริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์แชร์เตือนการกินหมูกรอบเกินสัปดาห์ละ 2 ครั้ง จะเสี่ยงเป็นโรคหลายโรค เรื่องนี้จริงหรือไม่ ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

1 2
...