ย้ายด่วน ผกก.ตม.นครพนม ปล่อยอดีตพระพรหมเมธีหลบหนี
มีสั่งย้ายด่วนผู้กำกับการตรวจคนเข้าเมืองนครพนม หลังปล่อยให้อดีตพระพรหมเมธี กับพวกหลบหนีไปเยอรมนี
มีสั่งย้ายด่วนผู้กำกับการตรวจคนเข้าเมืองนครพนม หลังปล่อยให้อดีตพระพรหมเมธี กับพวกหลบหนีไปเยอรมนี
สื่่อมวลชนเกาะติดการกลับมาของ ผบ.ตร.และคณะส่อแววกลับไทยมือเปล่าเหตุอดีตพระพรหมเมธีทำเรื่องขอลี้ภัย ทำให้การส่งตัวล่าช้าชี้ศาลเยอรมันใช้เวลาพิจารณาประมาณ2เดือน
คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติเตือน มรสุมที่กำลังจะมาถึงอาจทำให้ชาวโรฮิงญาลี้ภัยในบังกลาเทศล้มตายจำนวนมาก เพราะค่ายผู้ลี้ภัยไม่มีความแข็งแรงพอที่จะทนต่อลมพายุได้
ทนายความนายกึม ซกคา ผู้นำฝ่ายค้านกัมพูชาที่ถูกควบคุมตัวอยู่เผยว่า นายกึมไม่เข้าร่วมกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ตั้งขึ้นใหม่โดยนายสม รังสี อดีตผู้นำฝ่ายค้าน
รองโฆษก อสส. ชี้หาก “ยิ่งลักษณ์ “ขอลึ้ภัยการเมืองไปอังกฤษจะเป็นคนแรกของประเทศไทย ส่วนจะเข้าข่ายลี้ภัยได้หรือไม่เป็นดุลยพินิจของประเทศนั้น
กลาโหม 8 ม.ค – นายดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กล่าวถึง กรณีมีกระแสข่าวว่า น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ยื่นคำขอลี้ภัยกับทางการอังกฤษ ตั้งแต่ต้นเดือนพฤศจิกายน 2560 และอยู่ระหว่างรอให้ทางการอังกฤษให้สถานะผู้ลี้ภัย ว่า ไม่มีข้อมูลในเรื่องนี้ ขณะที่ พล.อ.เฉลิมชัย สิทธิสาท ผู้บัญชาการทหารบก ในฐานะเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ตอบเพียงสั้นว่า “ไม่มอง” เมื่อถูกถามว่า มองประเด็นนี้อย่างไร .- สำนักข่าวไทย
นายกฯ ระบุ ยังไม่เห็นข้อมูลที่ทางการอังกฤษ ออกหนังสือเดินทางให้”ยิ่งลักษณ์” ปัดตอบ “โอ๊ค” ระบุคนในครอบครัวชินวัตรไม่ต้องการเข้าไปยุ่งเกี่ยวทางการเมืองอีก
ชาวโรฮิงญาที่ลี้ภัยอยู่ในบังกลาเทศเริ่มกังวลว่าจะขาดแคลนอาหารเนื่องจากจำนวนผู้อพยพที่เพิ่มมากขึ้นอาจทำให้อาหารที่ได้รับการช่วยเหลือมีไม่เพียงพอกับความต้องการ
เหตุการณ์ชาวโรฮิงญาลี้ภัยเข้ามาในบังกลาเทศกว่า 11,000 คน เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา ทำให้ยูเอ็นเอชซีอาร์ต้องเฝ้าระวังขั้นสูงสุดอีกครั้ง โดยทำงานร่วมกับทางการบังกลาเทศ เตรียมพร้อมรองรับคลื่นผู้ลี้ภัยระลอกใหม่ที่คาดจะมาถึงในอีกไม่กี่วันข้างหน้า
นางเรตโน มาร์ซูดี รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย เข้าหารือกับนางออง ซาน ซูจี เกี่ยวกับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ชาวมุสลิมโรฮิงญาที่ลี้ภัยเข้าไปยังบังกลาเทศ
ชาวโรฮิงญาอย่างน้อย 6,000 คนที่อพยพหนีเหตุความรุนแรงในเมียนมา ติดค้างอยู่ที่บริเวณพรมแดนฝั่งติดกับบังกลาเทศ หลังถูกปิดกั้นไม่ให้เดินทางเข้าประเทศ
ชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข่ของเมียนมาที่พยายามลี้ภัยไปบังกลาเทศ ติดค้างอยู่ที่พรมแดนหลายพันคน ขณะที่สถานการณ์สู้รบทวีความรุนแรงมากขึ้น มีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 96 คน