กห.จับมือเกษตรพัฒนาเพิ่มรายได้เกษตรกร
รมว.กห.-เกษตรร่วมลงนามยกระดับพัฒนาภาคการเกษตร สู่มิติ “ช่วยเหลือ ป้องกัน สร้างสรรค์ พัฒนา” มุ่งสร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ ฟื้นฟูเศรษฐกิจรายได้เกษตรกร
รมว.กห.-เกษตรร่วมลงนามยกระดับพัฒนาภาคการเกษตร สู่มิติ “ช่วยเหลือ ป้องกัน สร้างสรรค์ พัฒนา” มุ่งสร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ ฟื้นฟูเศรษฐกิจรายได้เกษตรกร
โฆษกรัฐบาลเปิดผลงานเด่นรัฐบาล 5 เดือนแรก เน้น 3 ด่านหลัก “คมนาคมขนส่ง-สร้างรายได้เกษตรกร-ดูแลผู้มีรายได้น้อย”ให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี สั่งให้ทุกหน่วยงานภาครัฐเดินหน้าทำงานอย่างต่อเนื่อง เน้นการเข้าถึงปัญหาของประชาชน ทั้งนี้ได้มอบหมายให้ พล.ต.อ.ธรรมศักดิ์ วิชชารยะ ประสานทุกหน่วยงานเร่งขับเคลื่อนการทำงานในทุกมิติ
สศก.เผยดัชนีรายได้เกษตรกร ก.ค.61 ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.38 จากปีก่อน
กรุงเทพฯ 28 ก.ค.-รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สั่งให้ทุกหน่วยงานคำนวณหารายได้ที่เป็นธรรมของเกษตกรเพื่อจะวางแผนการผลิตของประเทศและส่งเสริมให้เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยจะต้องมีกำไรจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมไม่ต่ำกว่า 20-30% นายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หารือร่วมกับผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยขอให้ข้าราชการทุกหน่วยคำนวณและประเมินความพึงพอใจหรือหากำหนดเกณ์ที่เป็นธรรมของรายได้เกษตรกรไทยให้เห็นเป็นรูปธรรม ดังเช่น การกำหนดค่าแรงขั้นต่ำวันละ 300 บาท หรือรายได้ขั้นต่ำของผู้เรียนจบปริญญาตรีไม่ต่ำกว่าเดือนละ 15,000 บาท เป็นต้น โดยจากการใช้ปัจจัยทั้งทางเศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์มาคำนวณได้ข้อสรุปเบื้องต้น ดังนี้ 1. ในการประกอบอาชีพเกษตรกร ควรได้รับการดูแลโดยมีการประกันรายได้ขั้นต่ำ ต้องมีกำไรไม่น้อยกว่า 20 – 30% ของค่าใช้จ่ายในการลงทุนทั้งนี้รวมค่าแรงของเกษตรกรด้วย 2. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการต่าง ๆ ของรัฐบาลและปฏิบัติตามแผนการผลิตของประเทศจะได้รับการคุ้มครองรายได้ขั้นต่ำ อีกทั้งภาครัฐจะเพิ่มแรงจูงใจอื่น ๆ เช่น การส่งเสริมให้มีการออมระยะยาว หรือการดูแลความเสี่ยงด้านชีวิต โดยภาครัฐสนับสนุนงบประมาณบางส่วน เป็นต้น นายกฤษฎากล่าวว่า การกำหนดรายได้ที่เป็นธรรมของเกษตรกรไม่ใช่เรื่องง่ายเนื่องจากความหลากหลายในการบริหารจัดการการเกษตร และวิถีการครองชีพของเกษตรกร มีรายงานการวิจัยในสหรัฐอเมริกา พบว่า ในกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวสาลีซึ่งมีมากยังกำหนดราคาที่เป็นธรรมได้ยาก เนื่องจากความหลากหลายของพื้นที่เพาะปลูก การบริหารจัดการการเพาะปลูก และวิถีการครองชีพที่แตกต่างกัน ดังนั้นสำหรับเกษตรกรไทยจึงเห็นสมควรให้จำแนกตามประเภทของเกษตรกรรม ได้แก่ 1. การประกอบอาชีพด้านการเพาะปลูกพืช 2. ด้านปศุสัตว์ […]
สศก.คาดดัชนีรายได้เกษตรกรทั้งปี 60 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 59 จากผลผลิตสินค้าเกษตรสำคัญและผลไม้ที่เพิ่มขึ้น
สศก.เผยดัชนีรายได้เกษตรกรเดือนกันยายน 59 เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.87 จากการเพิ่มขึ้นของผลผลิตสินค้าสำคัญ