แคนาดาลงมติเหตุรุนแรงฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โรฮิงญา

รัฐสภาแคนาดาลงมติเป็นเอกฉันท์ ระบุเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นกับชาวมุสลิมโรฮิงญา ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยในเมียนมาเป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ยูเอ็นชี้ “ซูจี” ควรลาออก ล้มเหลวในการยับยั้งฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โรฮิงญา

สหประชาชาติระบุว่า นางออง ซาน ซูจี ผู้นำเมียนมา ควรลาออก จากความล้มเหลว ในการหยุดยั้งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข่

เมียนมาไม่ยอมรับรายงานยูเอ็น กรณีสังหารหมู่ชาวโรฮิงญา

รัฐบาลเมียนมาประกาศไม่ยอมรับรายงานผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงการสังหารหมู่ชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข่ ที่สหประชาชาติเผยแพร่เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา ที่ระบุว่ากองทัพเมียนมาจงใจสังหารหมู่ชาวโรฮิงญาเพื่อฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

หลายประเทศเรียกร้องลงโทษนายทหารเมียนมากดขี่โรฮิงญา

หลายประเทศรวมทั้งสหรัฐเรียกร้องให้นำนายทหารเมียนมาที่ถูกกล่าวหาว่าบงการการกดขี่ชาวโรฮิงญามารับโทษจากนานาชาติ

ผู้นำตุรกีว่าอิสราเอลฆ่าล้างเผ่าพันธุ์จากการสังหารพลเรือนในกาซา

ประธานาธิบดีเรเจพ แอร์โดอานของตุรกีกล่าวหาอิสราเอลว่าเป็นรัฐก่อการร้าย และฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ภายหลังสังหารชาวปาเลสไตน์ 58 คน

7 ประเทศขอให้ยูเอ็นประชุมเรื่องเหตุรุนแรงในเมียนมา

ฝรั่งเศส อังกฤษ สหรัฐ อียิปต์ คาซัคสถาน เซเนกัลและสวีเดน ขอให้ยูเอ็นเอสซีเปิดประชุมในสัปดาห์หน้าหารือเรื่องเหตุรุนแรงในเมียนมา

ผู้นำรวันดาชนะเลือกตั้งถล่มทลายเตรียมเป็นต่อสมัยที่ 3

คิกาลี 5 ส.ค.- ผลการนับคะแนนเลือกตั้งประธานาธิบดีรวันดาที่เกือบเสร็จสิ้นแล้วชี้ว่า ประธานาธิบดีพอล คากาเมกวาดคะแนนถล่มทลายลอยลำเป็นประธานาธิบดีต่อสมัยที่ 3 หลังจากปกครองประเทศมาตั้งแต่เกิดเหตุฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เมื่อ 23 ปีก่อน  เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้งแห่งชาติรวันดาแถลงว่า ผลการนับคะแนนแล้วร้อยละ 80 ชี้ว่า ประธานาธิบดีคากาเมวัย 59 ปี ได้คะแนนแล้วร้อยละ 98.66 และคงไม่เปลี่ยนแปลงไปจากนี้เมื่อนับคะแนนทั้งหมดแล้วเสร็จ ส่วนผู้สมัครจากพรรคฝ่ายค้านและผู้สมัครอิสระได้คะแนนเพียงร้อยละ 0.45 และ 0.72 ตามลำดับ ประธานาธิบดีคากาเมกล่าวทางโทรทัศน์ว่า จะเป็นอีก 7 ปี ที่เขาจะแก้ไขประเด็นต่าง ๆ ที่กระทบต่อชีวิตชาวรวันดาและทำให้รวันดาเป็นประเทศกำลังพัฒนาทางเศรษฐกิจ  นานาชาติชื่นชมประธานาธิบดีคากาเมที่ทำให้เศรษฐกิจประเทศฟื้นตัวอย่างรวดเร็วและเรียบร้อย หลังเกิดเหตุฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ระหว่างชนเผ่าฮูตูและทุตซีระหว่างวันที่ 7 เมษายน-15 กรกฎาคม 2537 ที่มีผู้เสียชีวิต 5 แสนถึง 1 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าทุตซี แต่ขณะเดียวกันก็ถูกวิจารณ์เรื่องมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างกว้างขวาง กดขี่สื่อและฝ่ายค้าน เขาเป็นผู้นำกองกำลังกบฏทุตซีเข้ายุติเหตุฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ จากนั้นได้ทำหน้าที่ผู้นำประเทศโดยพฤตินัยในตำแหน่งรองประธานาธิบดีและรัฐมนตรีกลาโหม จนกระทั่งขึ้นเป็นขึ้นเป็นประธานาธิบดีในปี 2543 เมื่อประธานาธิบดีในตำแหน่งลาออก.-สำนักข่าวไทย

ซู จียืนยันกับสื่อว่าไม่มีการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวมุสลิม

นางออง ซาน ซู จี ผู้นำเมียนมาร์ยืนยันว่า ไม่มีการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชนกลุ่มน้อยชาวมุสลิม หลังจากยูเอ็นจะสอบสวนเรื่องกองทัพถูกกล่าวหาว่าข่มเหงชาวโรฮิงญา

สีสันต่างประเทศ : วิดีโอ 3 มิติ รำลึกฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สมัยนาซีเยอรมัน

เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการอนุรักษ์ประวัติศาสตร์เก่าแก่เกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สมัยนาซีเยอรมันเป็นอย่างไร ติดตามได้ในสีสันต่างประเทศ

วิกฤติผู้ลี้ภัยโรฮิงญาในเมียนมาร์

ชะตากรรมของชาวโรฮิงญา ในเมียนมาร์กำลังตกอยู่ในภาะอันตรายอย่างยิ่ง โดยสหประชาชาติกล่าวหาว่ากองทัพเมียนมาร์ กำลังฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวโรฮิงญา

1 2 3 4
...