ชัวร์ก่อนแชร์ : อาหารเสริมแก้อาการหนังตาตก จริงหรือ ?

10 ก.พ. – บนสังคมออนไลน์ แชร์ข้อความแนะนำว่า มีอาหารเสริมที่สามารถช่วยแก้อาการหนังตาตกได้ แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พงศ์อิทธิ์ เชิดชูวงศ์ 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ : “ถั่งเช่า” ทำให้ไตวาย ไม่ควรรับประทานจริงหรือ ?

10 กุมภาพันธ์ 2564ตรวจสอบข้อเท็จจริง, เรียบเรียง โดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์, กลาง ณัฐนที สังคมออนไลน์แชร์ ไม่ควรรับประทาน “ถั่งเช่า” เพราะทำให้ “ไตวาย” ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์ ยืนยันว่าข้อมูลดังกล่าว “มีส่วนจริง” ตามที่มีการแชร์ข้อมูลในโซเชียล ว่ามีผู้รับประทานสมุนไพรหรืออาหารเสริม “ถั่งเช่า” แล้วไตวาย บางคนหยุดทานแล้วอาการดีขึ้น แต่บางคนไตพังจนต้องล้างไตตลอดชีวิต รวมถึงมีผู้เสียชีวิตหลังจากรับประทานถั่งเช่าด้วย ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับประธานราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย อสมท ตรวจสอบกับ พลอากาศโท นายแพทย์อนุตตร จิตตินันทน์ ประธานราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ยืนยันว่า “ถั่งเช่าทำให้ไตวายได้ แต่ไม่ใช่ทุกคนที่รับประทานถั่งเช่าแล้วจะไตวาย ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ด้วย” ในฐานะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญการรักษาโรคไต และ อดีตนายกสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย พลอากาศโท นายแพทย์อนุตตร ระบุว่า แพทย์ผู้รักษาโรคไตหลายคนพบแนวโน้มว่า ผู้ป่วยที่รับประทานถั่งเช่าบางคน มีการทำงานของไตแย่ลง และเมื่อให้หยุดการรับประทานถั่งเช่าแล้วการทำงานของไตดีขึ้น ดังนั้น จึงเห็นความเป็นไปได้ว่า การรับประทานถั่งเช่าอย่างต่อเนื่องอาจจะส่งผลให้ไตวายได้ในที่สุด ถั่งเช่าที่เป็นยาโบราณคือ “ถั่งเช่าทิเบต”พล.อ.ท.นพ.อนุตตร […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : กิน “ถั่งเช่า” ทำให้ไตวาย จริงหรือ ?

ชัวร์ก่อนแชร์ : กิน “ถั่งเช่า” ทำให้ไตวาย จริงหรือ ?

8 ก.พ. – บนสังคมออนไลน์แชร์เตือนว่า การกินอาหารเสริม “ถั่งเช่า” ทำให้ไตวายได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามกับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ พลอากาศโท นายแพทย์อนุตตร จิตตินันทน์ ประธานราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย อดีตนายกสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ 📌 สรุป 📌❌ ไม่ควรแชร์ต่อ ❌ในเรื่องของการอวดอ้างสรรพคุณของถั่งเช่าที่เกินกว่าความจริง ทำให้เกิดความเข้าใจผิดของสังคม แต่ในส่วนที่แชร์มาว่า ✅ กินถั่งเช่าแล้วเกิดไตวาย เป็นสิ่งที่แชร์ได้ หากคนที่แชร์มาเป็นบุคลากรทางการแพทย์ 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ : 9 วิธีนวดล้างพิษชะลอวัยแบบโบราณใช้ได้ จริงหรือ ?

7 ก.พ. – บนสังคมออนไลน์ แชร์ข้อความแนะนำ 9 วิธีนวด ล้างพิษชะลอวัยแบบโบราณ แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ นพ.ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พงศ์อิทธิ์ เชิดชูวงศ์ 📌 สรุป : ❌ มั่ว อย่าแชร์ ❌ 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ : ทำกากบาทบนผิวหนังช่วยลดอาการคันจากยุงกัดได้ จริงหรือ ?

5 ก.พ. – บนสังคมออนไลน์ แชร์ภาพพร้อมข้อความแนะนำว่า การทำกากบาทบนผิวหนังที่ถูกยุงกัดจะช่วยลดอาการคันได้ แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ แพทย์หญิงมิ่งขวัญ วิชัยดิษฐผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พงศ์อิทธิ์ เชิดชูวงศ์ 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : คปภ.อัปเดตคำแนะนำเลือกซื้อประกันโควิด-19

3 ก.พ. – บนสังคมออนไลน์มีหลายข้อสงสัยเกี่ยวกับการเลือกซื้อประกันโควิด-19 จริง ๆ แล้วควรมีหลักในการเลือกซื้ออย่างไร และใครควรซื้อ ติดตามกับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์ 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ : 12 สัญญาณเตือนว่าตับพัง! จริงหรือ ?

2 ก.พ. – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์ 12 สัญญาณเตือนว่าตับพัง! เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.ปิยะวัฒน์ โกมลมิศร์ หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ด้านโรคตับ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ณัฐวัฒน์ จิตรมั่น 📌 สรุป : ใช้ได้ทั้ง 12 ข้อ แต่หากสงสัยควรไปพบแพทย์ ไม่ควรรอให้เกิดอาการครบทั้ง 12 ข้อ 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ : การแพร่เชื้อโควิด-19 จากสตรีมีครรภ์สู่บุตรในครรภ์

บนสังคมออนไลน์มีกระแสความสนใจและห่วงใยว่าสตรีมีครรภ์ ท่ามกลางการระบาดของเชื้อโควิด 19 นี้ นอกจากต้องเป็นห่วงสุขภาพตัวเองแล้วยังต้องห่วงสุขภาพของบุตรในครรภ์ว่าจะได้รับเชื้อด้วยหรือไม่ ข้อเท็จจริงในเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามกับคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ณัฐี วัฒนกูล 📌 สรุป : ยังไม่มีหลักฐานยืนยันในปัจจุบัน ว่ามีการแพร่ของเชื้อโควิดจากแม่สู่ลูก เช่นเดียวกัน ในเรื่องของการติดเชื้อจากการให้นมบุตร ก็ไม่มีหลักฐานยืนยัน ส่วนใหญ่ทารกที่ติดเชื้อเป็นการติดเชื้อจากการสัมผัส 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ FACT CHECK EXPERT : รวมความเข้าใจผิด กับการฉีดวัคซีน โควิด 19

30 ม.ค. – ข่าวคราวเกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19 เริ่มมีเยอะขึ้นมากขึ้นทุกวัน บางเรื่องที่เราเข้าใจว่าจริงอาจจะเป็นเรื่องเข้าใจผิด วันนี้เรามาดูตัวอย่างความเข้าใจผิด เกี่ยวกับ วัคซีน COVID19 เพื่อที่เราจะสามารถตรวจสอบได้ 👉 เตรียมโทรศัพท์มือถือของคุณให้พร้อม แล้วร่วมเรียนรู้และตอบคำถามไปพร้อมๆ กัน ผ่านหน้าจอกับ FACT CHECK EXPERT ในบทเรียนที่ 23 “รวมความเข้าใจผิด กับการฉีดวัคซีน โควิด 19” โดยคุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🔎 FACT CHECK EXPERT 🔎 นวัตกรรมสื่อดิจิทัลซีรีส์ใหม่จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ที่จะช่วยให้ผู้ชมได้เรียนรู้เคล็ดลับการเป็นนักตรวจสอบข้อเท็จจริง และฝึกฝนจนเป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน Fact Checking ได้ด้วยตนเอง ผ่านหลักสูตร FACT CHECK EXPERT ที่กลั่นกรองผ่านประสบการณ์จริง ในรูปแบบ “InnovActive Learning” ที่คุณสามารถมีส่วนร่วมและเรียนรู้ไปกับเราทั้งบนจอทีวีและออนไลน์ 👉 ร่วมแสดงความคิดเห็นไปกับเราได้ที่ http://qr0023.sure.guru 👈 👉 พบกันทุกวันเสาร์ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : ความแตกต่างระหว่างไวรัสโคโรน่ากับภูมิแพ้ที่แสดงอาการทางดวงตาจริงหรือ ?

1 ก.พ. – บนสังคมออนไลน์ แชร์ภาพพร้อมข้อความถึงความแตกต่างระหว่างไวรัสโคโรน่ากับภูมิแพ้ที่แสดงอาการทางดวงตา แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ ศาสตราจารย์วุฒิคุณ นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พงศ์อิทธิ์ เชิดชูวงศ์ 📌 สรุป : ✅ ชัวร์ แชร์ได้ ✅ 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ : อาการผิดปกติบนผิวหนังที่มาจากอากาศหนาว จริงหรือ ?

31 ม.ค. – บนสังคมออนไลน์ แชร์ภาพพร้อมข้อความเตือนถึงอาการผิดปกติบนผิวหนังที่มาจากอากาศหนาว แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ แพทย์หญิงมิ่งขวัญ วิชัยดิษฐ ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พงศ์อิทธิ์ เชิดชูวงศ์ 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ : การตัดขนสุนัขไม่ได้ช่วยให้คลายร้อน จริงหรือ ?

28 ม.ค. – บนสังคมออนไลน์มีการแชร์ว่าการตัดขนไม่ได้ช่วยคลายร้อนให้สุนัข เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามกับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ 🎯 ตรวจสอบกับ น.สพ.ศิววัชร์ พานิชอนันต์กิจ คลินิกโรคผิวหนัง โรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ณัฐวัฒน์ จิตรมั่น 📌 สรุป : แชร์ได้ ✅ อธิบายเพิ่ม ✅ การตัดขนไม่ได้เป็นการที่ช่วยระบายความร้อนหลัก 🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ “ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์” 🎯LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshareFB :: https://www.facebook.com/SureAndShareTwitter :: https://www.twitter.com/SureAndShareIG :: https://instagram.com/SureAndShareWebsite :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.comTikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

1 36 37 38 39 40 46