ชัวร์ก่อนแชร์: ยาต้านโควิด Pfizer ใช้กินวันละ 2 เม็ดร่วมกับฉีดวัคซีน จริงหรือ?
Pfizer ยืนยันว่ายาต้านไวรัสโควิด 19 ของ Pfizer ไม่ได้ทดลองเพื่อใช้ร่วมกับวัคซีน เพราะวัคซีนและยาทำหน้าที่ต่างกัน
Pfizer ยืนยันว่ายาต้านไวรัสโควิด 19 ของ Pfizer ไม่ได้ทดลองเพื่อใช้ร่วมกับวัคซีน เพราะวัคซีนและยาทำหน้าที่ต่างกัน
ผอ.กาชาดสหรัฐฯ ยืนยันว่าผู้ที่ได้รับวัคซีนโควิด 19 ที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง สามารถบริจาคโลหิต, เกล็ดเลือด และพลาสม่าได้ตามปกติ
รัฐบาลรัสเซียมีคำสั่งให้เจ้าของกิจการสั่งพักงานลูกจ้างที่ไม่ยอมฉีดวัคซีนโควิด 19 พร้อมคำสั่งปรับเงิน และระงับกิจการบริษัทที่มีลูกจ้างฉีดวัคซีนไม่ถึง 60 %
ภาพเลือดสีแดงสดและเลือดสีเข้มไม่เกี่ยวข้องกับการฉีดวัคซีน และศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ยืนยันว่า ไม่ได้เกิดเหตุการณ์ดังที่แชร์กัน
อย.ของฟิลิปปินส์ยืนยันว่าการเสียชีวิตหลังฉีดวัคซีนโควิด 19 ส่วนใหญ่ไม่ได้มีสาเหตุจากวัคซีนโดยตรง
ผลวิจัยของ PHE ยืนยันว่าการฉีดวัคซีน AstraZeneca 2 โดส ป้องกันการรักษาตัวในโรงพยาบาลจากไวรัสเดลต้าได้ถึง 92%
วัคซีนโควิด 19 ที่รับรองให้ใช้ในสหรัฐฯ ผ่านการทดสอบกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพมาแล้วทั้งสิ้น
WHO ระบุว่าผู้ที่ไม่ควรฉีดวัคซีน Sinovac ได้แก่ผู้แพ้สารประกอบในวัคซีน, ผู้ป่วยโควิด 19 และผู้มีอุณหภูมิสูงกว่า 38.5°C
เดนมาร์กยังคงฉีดวัคซีนโควิด 19 ให้กับประชนต่อไป แม้จะยกเลิกมาตรการโควิด 19 ไปตั้งแต่วันที่ 10 กันยายนที่ผ่านมา
ในเดือนตุลาคม รัฐบาลตาลีบันออกมาสนับสนุนโครงการของสหประชาชาติ (UN) เพื่อเร่งการฉีดฉีดวัคซีนโควิด 19 และโปลิโอให้กับประชาชนในประเทศ
แม้นักภูมิคุ้มกันวิทยาเชื่อว่าโควิด 19 อาจกลายเป็นโรคประจำถิ่น แต่ปัจจุบัน WHO ยังไม่ประกาศให้โควิด 19 เป็นโรคประจำถิ่นแต่อย่างใด
WHO ให้ความสำคัญกับการสร้าง “ภูมิคุ้มกันหมู่” ผ่านการฉีดวัคซีน แต่ไม่ได้ปฏิเสธว่าการติดเชื้อสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้