ชัวร์ก่อนแชร์: เลือดบริจาคของผู้ฉีดวัคซีนโควิด-19 ไม่ปลอดภัย จริงหรือ?
3 ปีที่ผ่านมามีการนำโลหิตจากผู้ฉีดวัคซีนโควิด-19 มาใช้ในการแพทย์อย่างแพร่หลาย และไม่พบความผิดปกติต่อผู้รับบริจาคโลหิตแม้แต่น้อย
3 ปีที่ผ่านมามีการนำโลหิตจากผู้ฉีดวัคซีนโควิด-19 มาใช้ในการแพทย์อย่างแพร่หลาย และไม่พบความผิดปกติต่อผู้รับบริจาคโลหิตแม้แต่น้อย
มีข้อมูลที่สร้างความเข้าใจผิดเผยแพร่ทาง Facebook ในสหรัฐอเมริกาว่า ประเทศญี่ปุ่นไม่รับบริจาคโลหิตจากผู้ฉีดวัคซีนโควิด-19 เนื่องจากไม่มั่นใจในความปลอดภัย
สาเหตุที่กาชาดสหรัฐฯ ไม่รับบริจาค Convalescent Plasma ของคนฉีดวัคซีนโควิด-19 เพราะต้องการได้พลาสม่าจากผู้ที่เคยติดเชื้อโควิด-19
สาเหตุที่กาชาดสหรัฐฯ ต้องการข้อมูลการฉีดวัคซีนของผู้บริจาคโลหิต เพื่อป้องกันการรับบริจาคโลหิตจากผู้ฉีดวัคซีนเชื้อเป็นก่อนเวลาอันควร ปัจจุบันยังไม่มีการผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อเป็น
วัคซีนโควิด-19 ทำให้ปริมาณเม็ดเลือดขาวชนิด lymphocytes เพิ่มขึ้นเพิ่มยับยั้งไวรัสโควิด-19 แต่จะอยู่ในปริมาณที่เหมาะสมและไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
สีของเลือดขึ้นอยู่กับปริมาณออกซิเจนในเซลล์เม็ดเลือดแดง เลือดในหลอดเลือดแดงซึ่งมีออกซิเจนสูง เลือดจะเป็นสีแดงสด เลือดในหลอดเลือดดำซึ่งมีคาร์บอนไดออกไซด์สูง เลือดจะเป็นสีแดงคล้ำ
หลอดในภาพที่แชร์คือหลอดแยกซีรั่ม ซึ่งมีสารกระตุ้นการแข็งตัวของเลือด ทำให้เลือดแข็งตัวภายใน 5-10 นาที
บนสังคมออนไลน์แชร์ภาพเอกซเรย์มือ บอกว่าเป็นมือของนักเล่นโยโย่ที่เล่นเป็นเวลานาน ทำให้การไหลเวียนเลือดที่นิ้วชี้หยุดชะงัก ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
นักวิจัยออสเตรเลียพัฒนาวิธีตรวจหาเชื้อโควิด-19 ที่อ้างว่า เป็นครั้งแรกของโลกที่สามารถตรวจจากเลือด และรู้ผลใน 20 นาทีว่ากำลังติดเชื้อหรือเคยติดเชื้อมาแล้วหรือไม่
ยอดผู้เสียชีวิตจากเชื้อไวรัสโควิด-19 ในจีนพุ่งทะลุเกิน 2,000 คนแล้ว แต่มีแนวโน้มที่ดี เนื่องจากยอดผู้ติดเชื้อที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง
ลูกงูเหลือม 5 ตัว บุกซุกตัวบ้านใหม่ที่ จ.สระบุรี กู้ภัยจับได้ ถูกกัดเลือดสาด