ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : EHAT GALSTINK ? — ไม่ชอบนะ แต่ตามส่องรู้ทุกเรื่อง !

20 เมษายน 2567 สิ่งนี้…เป็นพฤติกรรมที่พบได้บ่อยในโลกยุคดิจิทัล และสิ่งนี้… อาจกลายเป็นการเสพติดความสุข จากการตามส่องคนที่เราไม่ชอบ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 7 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : LACKBITIC ? — จุดเริ่มต้นข่าวลวง หลอกล่อให้หลงคลิก

13 เมษายน 2567 – สิ่งนี้…ทำให้เกิดปัญหาข้อมูลข่าวสารปลอม หรือบิดเบือนได้ และสิ่งนี้… พบว่า ปรากฏบนสื่อออนไลน์ในปัจจุบัน เป็นจำนวนมาก คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 15 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : SLEEP TEXTING – โรคยอดฮิต ของคนติดแชต

6 เมษายน 2567 สิ่งนี้…เป็นอาการคลั่งแชต ที่เกิดจากการใช้โซเชียลเน็ตเวิร์กทุกชนิดมากเกินไป และสิ่งนี้… เสี่ยงต่อภัยคุกคามทางสุขภาพ นอนหลับไม่สนิท หรือฝันร้าย คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล SLEEP TEXTING โรคละเมอแชต เป็นพฤติกรรมที่มีการใช้โทรศัพท์ เพื่อตอบข้อความหรือส่งข้อความไปหาผู้อื่นขณะที่กำลังนอนหลับ สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน รวมไปถึงการติดโซเชียลทุกชนิด ทำให้มุ่งความสนใจไปที่เครื่องมือสื่อสารเหล่านี้แทบจะทุกนาที จนกลายเป็นความวิตกกังวลต่อข้อความที่ถูกส่งมา แม้กระทั่งเวลาจะหลับก็ยังเอามือถือไปจิ้มเล่นเรื่อยเปื่อย และหลับไปพร้อมกับโทรศัพท์ที่ยังคามือหรือวางนิ่งอยู่ข้างตัว ปัญหาที่ตามมาก็คือ ร่างกายจะอ่อนแอจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ทำให้เกิดโรคอ้วน ภาวะซึมเศร้า และอาจส่งผลกระทบในการเรียนหรือการทำงาน อาจารย์แนะนำว่า การเล่นโซเชียลมีเดียควรทำแต่พอดี หากติดมากควรลองอยู่ห่างจากสมาร์ทโฟน ตัดใจปิดมือถือ ปิดเสียง หรือปิดสัญญาณอินเทอร์เน็ตก่อนนอน วิธีนี้จะช่วยให้ห่างไกลจากการละเมอแชต และฟื้นฟูสุขภาพการนอนหลับให้เต็มอิ่ม ตื่นเช้ามาพร้อมความสดชื่น แจ่มใส ร่างกายแข็งแรงขึ้น สัมภาษณ์เมื่อ : 7 มีนาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : CONTINUALHAIL ? — อาการที่ AI ก็เป็นได้ จนน่าขนลุก !

23 มีนาคม 2567 สิ่งนี้… เป็นความผิดปกติทางการรับรู้ จนทำให้เกิดความสับสน และสิ่งนี้… ส่งผลให้เกิดความเชื่อที่ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ. ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 12 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : AERG IABT ? — คอนเทนต์ยั่วโมโห สร้างกระแส !

24 กุมภาพันธ์ 2567 สิ่งนี้… คือรูปแบบคอนเทนต์ ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสพติดความโมโห หรือดราม่าในปัจจุบัน และสิ่งนี้… ส่งผลกระทบการสร้างสัมพันธ์ทั้งในสังคมออนไลน์และในชีวิตจริง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ. ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 12 กุมภาพันธ์ 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : SIGHTONG ? — ความสัมพันธ์แบบผี ที่อยู่ดี ๆ ก็หายไป

17 กุมภาพันธ์ 2567 สิ่งนี้… เปรียบเสมือนผีในสังคมดิจิทัล และสิ่งนี้… กลายเป็นวิธีจบความสัมพันธ์ยอดนิยมของผู้คนสมัยใหม่ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 12 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : IDOXGN ? — กลั่นแกล้งผู้เห็นต่าง โดยประจานให้ใจเจ็บ

20 มกราคม 2567 สิ่งนี้…คือการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ ที่กลายเป็นภัยคุกคามในชีวิตจริงและสิ่งนี้… เคยถูกใช้เป็นเครื่องมือหนึ่งในการปิดปากผู้เห็นต่างทางการเมือง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.เจษฎา ศาลาทอง อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำนี้คือ DOXING แปลว่า การกลั่นแกล้งและคุกคามความเป็นส่วนตัวบนโลกออนไลน์ แฮกเกอร์จะรวบรวมข้อมูลของเหยื่อและเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูล เพื่อหวังผลให้เหยื่อหยุดกระทำการบางอย่าง หวังให้เหยื่อเกิดอาการกลัว หวาดระแวง ทำให้เหยื่อไม่กล้าขยับตัวไปทำอะไร กรณีนี้จะพบได้บ่อยจากการวิพากษ์วิจารณ์เรื่องการเมือง โดยฝั่งตรงข้ามจะขุดคุ้ยประวัติมาโพสต์ในโลกออนไลน์ เพื่อให้อีกฝั่งเสื่อมเสียชื่อเสียง​ และโดนทัวร์ลง วิธีป้องกัน แสดงข้อมูลส่วนตัวเท่าที่จำเป็น หรือก่อนแสดงความคิดเห็นบนโพสต์สาธารณะทุกครั้งและไม่เปิดเผยตัวตนหรือข้อมูลส่วนตัวมากจนเกินไป และนี่จึงเป็นเหตุผลว่า เราควรระมัดระวังการโพสต์ การแสดงความคิดเห็นในสื่อสังคมออนไลน์ เพราะสิ่งเหล่านั้นอาจกลายเป็นเครื่องมือย้อนกลับมาทำร้ายเรา สัมภาษณ์เมื่อ : 28 ธันวาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยงเรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : CRYPTO SCAM ? — อาชญากรรมคริปโต หลอกทุกดอก แล้วบอกให้ลงทุน

13 มกราคม 2567  สิ่งนี้… ถือเป็นภัยร้ายที่สะเทือนวงการนักลงทุนคริปโต และสิ่งนี้… เคยก่ออาชญากรรมเชิดเงินของนักลงทุนไปได้ถึง 185 ล้านดอลลาร์ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 28 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : ROMANCE SCAM ? — ภัยร้ายลวงใจ ในยุคดิจิทัล

7 มกราคม 2567  สิ่งนี้… เป็นภัยการหลอกลวงที่ใช้ความรัก เป็นเครื่องมือและสิ่งนี้… เคยเป็นคดีที่สร้างความเสียหายกว่า 190 ล้านบาทมาแล้ว คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ Romance Scam คือ การหลอกให้หลงรัก ใช้ความรักความเชื่อใจหรือความหวังของเหยื่อเพื่อแสวงหาประโยชน์ กลวิธีของมิจฉาชีพแก๊งโรแมนซ์สแกม มีดังนี้ Romance Scam หรือการหลอกให้รักออนไลน์ ใช้ความรัก ความเชื่อใจ หรือความอ่อนไหวของเป้าหมาย หลอกลวงเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ ดังนั้นเมื่อเริ่มต้นความสัมพันธ์กับใคร โดยเฉพาะบนโลกออนไลน์ อย่าลืมฉุกคิดว่าเราอาจไม่ได้กำลังเป็นที่รัก แต่อาจตกอยู่ในกับดักของมิจฉาชีพก็เป็นได้ สัมภาษณ์เมื่อ : 28 ธันวาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยงเรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : SPOTLIGHT EFFECT ? — สภาวะทางจิต ที่หลายคนเป็น โดยไม่รู้ตัว

23 ธันวาคม 2566 สิ่งนี้… เป็นสภาวะที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหลายคนเป็นโดยไม่รู้ตัว และ สิ่งนี้… อาจทำให้เกิดความวิตกกังวลในสายตาคนรอบข้างมากเกินความจำเป็น คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 22 สิงหาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย :  จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : PRETEXTING ? — ภัยคุกคามยุคใหม่ในการล้วงข้อมูล

16 ธันวาคม 2566 สิ่งนี้… คือภัยคุกคามยุคใหม่ทางวิศวกรรมสังคม ที่ใช้หลักจิตวิทยาในการหลอกลวงให้เหยื่อเปิดเผยข้อมูลสำคัญ และสิ่งนี้… เป็นเทคนิคสำคัญที่แฮกเกอร์ใช้เพื่อขโมยเงิน หรือข้อมูลจากสถาบันการเงิน ซึ่งกว่า 88% ดำเนินการผ่านอีเมล คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 8 กันยายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : MILKSHAKE DUCK ? — เปรียบวัฒนธรรมหนึ่ง ทางอินเทอร์เน็ต

2 ธันวาคม 2566 สิ่งนี้…เคยถูกยกเป็นคำศัพท์แห่งปี จากพจนานุกรมแมกควารี และสิ่งนี้… เป็นวลีหนึ่งที่เปรียบได้กับวัฒนธรรมทางอินเทอร์เน็ต อันเกี่ยวกับผู้มีชื่อเสียงชั่วข้ามคืน คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.เจษฎา ศาลาทอง อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 23 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

1 2 3 4
...