ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : CLICKJACKING ? — เทคนิคการโจมตีทางไซเบอร์ ที่นิยมในปัจจุบัน

18 พฤศจิกายน 2566 สิ่งนี้…เป็นเทคนิคการโจมตีทางไซเบอร์ ที่ยังคงเป็นที่นิยมของแฮกเกอร์ในปัจจุบัน และ สิ่งนี้…อาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ ทำการล่อลวงให้คลิกลิงก์ ซึ่งทำให้ยากต่อการป้องกัน คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์​ ตรวจสอบกับ อาจารย์ปริญญา หอมเอนก ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัย สัมภาษณ์เมื่อ : 14 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และจิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : MICRO-CHEATING ? — จุดเริ่มต้นของปัญหาความสัมพันธ์

11 พฤศจิกายน 2566 สิ่งนี้… เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์หนึ่ง ที่พบได้บ่อยมากขึ้น บนโลกออนไลน์ ในยุคปัจจุบัน และ สิ่งนี้…อาจกลายเป็นปัญหาต่อการบริหารจัดการความสัมพันธ์ที่บานปลายได้ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.เจษฎา ศาลาทอง อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 23 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : THE ANAGRAM

❓ MOCHABREECH❓ ตัวอักษรที่สลับกันอยู่ …คือคำว่าอะไร ? คำใบ้ คือ “กับดักความคิดบนโลกออนไลน์ เป็นสภาวะที่ได้รับข้อมูลข่าวสารความคิดเห็น ความเชื่อ เพียงด้านเดียว และมักเลือกรับแต่ข้อมูลที่ชื่นชอบเสมือนการยืนยันว่า ความคิดในใจของเราถูกต้องหรือ ทำให้รู้สึกว่าเป็นความคิดที่ผู้คนส่วนใหญ่ก็คิดเหมือน ๆ กัน” รับชมคลิปเฉลยและข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมที่น่าสนใจได้ที่นี่ :

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : PATHOLOGICAL GAMBLING ? — ภัยร้ายทำลายชีวิต

4 พ.ย. 66 – สิ่งนี้…เป็นกิจกรรมที่ฉาบไว้ด้วยความสนุก แต่กลับเป็นปัญหาที่ฝังรากลึกอยู่ในสังคมไทย และ สิ่งนี้…เป็นพฤติกรรมการเสพติดที่พบในกลุ่มคนรุ่นใหม่กว่า 3 ล้านคน คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : DIGITAL DUST ? — ร่องรอยแห่งโลกออนไลน์

28 ตุลาคม 2566 – สิ่งนี้… เป็นร่องรอยจากพฤติกรรมการแบ่งปันความชอบบนโลกออนไลน์ และสิ่งนี้…อาจกลายเป็นประวัติที่ถูกบันทึก และขุดคุ้ยจากบุคคลอื่นได้ทุกเมื่อ โดยไม่รู้ตัว คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 8 กันยายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : THE ANAGRAM

❓ GAITSFINCH❓ ตัวอักษรที่สลับกันอยู่ …คือคำว่าอะไร ? มาทายดูกัน ? คำใบ้“การหลอกลวงผู้อื่นทางโลกออนไลน์ด้วยบัญชีปลอมที่เคยเป็นเทรนด์ในการหาคู่อย่างแพร่หลายและเป็นคดีออนไลน์ที่สร้างความเสียหายมาแล้วกว่า 861 ล้านบาท” ร่วมสนุก ลองทายคำตอบกันได้ที่ช่องแสดงความคิดเห็นใต้โพสต์นี้ ✨

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : COPYCAT ? — ปรากฏการณ์พฤติกรรมการเลียนแบบ

21 ตุลาคม 2566 – สิ่งนี้… คือ ปรากฏการณ์พฤติกรรมการลอกเลียนแบบ จากเหตุการณ์ หรือพฤติกรรมที่เคยเกิดขึ้น และ สิ่งนี้…พบว่ากลายเป็นแรงกระตุ้น กว่าร้อยละ 20-30 ของการก่อเหตุอาชญากรรม ที่ถูกเผยแพร่อย่างหนักจากสื่อ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ. ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 17 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : CRYPTOJACKING ? — ภัยคุกคามที่มาแรงในปัจจุบัน

14 ตุลาคม 2566 สิ่งนี้…กลายเป็นตัวเลือกภัยคุกคามในปัจจุบัน ที่สร้างรายได้ให้กับอาชญากรทางไซเบอร์เป็นจำนวนมาก และ สิ่งนี้…มีรายงานพบว่าเกิดขึ้นกว่า 8 ล้านครั้งต่อวัน และมีปริมาณเพิ่มขึ้นทั่วโลก คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ปริญญา หอมเอนก ผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัย สัมภาษณ์เมื่อ : 14 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และจิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : QUEERBAITING ? — การตลาดเจาะกลุ่มความหลากหลายทางเพศ

7 ตุลาคม 2566 – สิ่งนี้…เป็นกลยุทธ์การตลาดที่นำอัตลักษณ์ความหลากหลายทางเพศมาเป็นจุดขาย ดึงดูดผู้คน และ สิ่งนี้…นำมาซึ่งเสียงสะท้อน ทำให้เกิดภาพจำแบบเหมารวม ด้วยความเข้าใจผิด ต่อความหลากหลายทางเพศ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.เจษฎา ศาลาทอง อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 23 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : CYBER EMPATHY ? — ทักษะสำคัญสำหรับคนในยุคดิจิทัล

30 กันยายน 2566 – สิ่งนี้… เป็นพื้นฐานการแสดงออกบนโลกออนไลน์ ที่ทุกคนควรตระหนัก และหากขาด สิ่งนี้…ไป อาจก่อให้เกิดปัญหาสังคมใกล้ตัวอย่าง Fake News หรือ Cyberbullying ได้ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พล.อ.ต.อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 8 กันยายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : HATE SPEECH ? — ต้นตอผิด พร้อมทำลายผู้คิดต่าง

23 กันยายน 2566 สิ่งนี้… ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกของผู้รับสารได้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม สิ่งนี้… สร้างความเกลียดชัง ทำให้เกิดความรุนแรง จนนำไปสู่อาชญากรรมได้ และ สิ่งนี้…เคยถูกใช้เป็นเครื่องมือ จนเกิดเหตุการณ์ที่สะเทือนใจมนุษยชาติที่สุด สร้างความสูญเสียนับล้านชีวิต คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ตรวจสอบกับ ผศ. ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 17 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : VICTIM BLAMING ? — พฤติกรรมสนับสนุนผู้กระทำผิดทางอ้อม

15 กันยายน 2566 – สิ่งนี้…เป็นพฤติกรรมการซ้ำเติมผู้ถูกกระทำหรือเหยื่อ ให้ได้รับความเจ็บปวดมากยิ่งขึ้น สิ่งนี้…ถือเป็นการสนับสนุนผู้กระทำผิดทางอ้อม ทำให้เหยื่อเกิดภาวะซึมเศร้า ที่กว่า 70% อาจเสียชีวิตก่อนวัยอันควร คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.เจษฎา ศาลาทอง อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ 23 สิงหาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

1 2 3 4
...