ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำลำน้ำมูลเพิ่มเติมอีก 200 เครื่อง
เจ้าหน้าที่ระดมเครื่องผลักดันน้ำ 200 เครื่อง ติดตั้งในลำน้ำมูลเพิ่มเติม เนื่องจาก กอนช. ประเมินว่าระดับน้ำลำน้ำมูลที่สถานีวัดน้ำ M7 จ.อุบลราชธานี จะสูงกว่าตลิ่งถึง 2.50 เมตร 4 ต.ค.นี้
เจ้าหน้าที่ระดมเครื่องผลักดันน้ำ 200 เครื่อง ติดตั้งในลำน้ำมูลเพิ่มเติม เนื่องจาก กอนช. ประเมินว่าระดับน้ำลำน้ำมูลที่สถานีวัดน้ำ M7 จ.อุบลราชธานี จะสูงกว่าตลิ่งถึง 2.50 เมตร 4 ต.ค.นี้
ทหารอพยพชาวบ้านชุมชนท่าบ้งมั่ง ชุมชนเกตุแก้ว ประมาณ 150 ครอบครัว ย้ายไปพักอาศัยบนถนนข้างสำนักงานเทศบาล ศูนย์การกีฬาเทศบาล และรอบวัดแสนสำราญ หนีน้ำมูลที่จะมีน้ำล้นตลิ่งสูงประมาณ 2.72 เมตร 4 ต.ค.นี้
ไปติดตามสถานการณ์น้ำท่วมที่ จ.อุบลราชธานี หลัง “พายุโนรู” เคลื่อนตัวออกจากจังหวัดไปแล้ว แต่ยังส่งผลกระทบทำให้ฝนตกในพื้นที่ และระดับแม่น้ำมูลยังคงสูงอย่างต่อเนื่อง
อิทธิพลพายุโซนร้อนโนรู ทำให้วันนี้อุบลฯ ฝนตกหนัก ลมแรง ทั้งวัน แม่น้ำมูลทะลักต่อเนื่อง ชาววารินชำราบต้องรีบอพยพไปศูนย์พักพิงแห่งใหม่ เนื่องจากมีน้ำไหลท่วมเต็นท์อีก อุตุฯ เตือนพายุโนรู จะเข้าไทย ที่ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เวลาประมาณ 19.00 น.
วันนี้ต้องเกาะติดสถานการณ์พายุไต้ฝุ่น “โนรู” ล่าสุดกรมอุตุฯ คาดว่าจะเคลื่อนเข้าปกคลุมภาคอีสานตอนล่าง บริเวณ จ.อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี ในวันนี้ (28 ก.ย.) หลังจากนั้นจะอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันและหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงตามลำดับ
หน่วยงานใน จ.อุบลราชธานี เตรียมรับมือพายุโนรู เตือนประชาชนริมแม่น้ำมูลเตรียมพร้อมอพยพ
“พล.อ.ประวิตร” เผย มท.1 เตรียมลงพื้นที่ จ.อุบลราชธานี วันพรุ่งนี้ (28 ก.ย.) ดูแลประชาชน ส่วนปม 8 ปี “พล.อ.ประยุทธ์” ไม่ห่วง เชื่อทุกอย่างจะผ่านไปได้ด้วยดี
GISTDA เผยข้อมูลจากดาวเทียม ล่าสุดพบน้ำท่วมขังในพื้นที่ 4 จังหวัดลุ่มน้ำชีและลุ่มน้ำมูล ทั้งสิ้น 54,889 ไร่ อุบลราชธานีมากที่สุด 38,999 ไร่ ขณะที่พื้นที่นาข้าวได้รับผลกระทบทั้งสิ้น 27,283 ไร่
สถานการณ์น้ำที่ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี ยังมีอีกหลายหมู่บ้านที่ริมติดแม่น้ำมูลได้รับผลกระทบ ต้องขนย้ายสิ่งของขึ้นที่สูง
สถานีวัดน้ำ M7 บริเวณสะพานเสรีประชาธิปไตย ยกธงแดงแจ้งเตือนภัยน้ำท่วม ซึ่งขณะนี้น้ำล้นตลิ่ง ทำให้แม่น้ำมูลไหลเข้าท่วมหมู่บ้าน ประชาชนต้องทยอยอพยพสิ่งของมาอยู่ศูนย์พักพิงที่ทางเทศบาลได้จัดไว้ให้ ทำให้ 12 ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี ได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก
เขื่อนเจ้าพระยา จ.ชัยนาท เตรียมปรับเพิ่มการระบายน้ำอีก หลังระดับน้ำเหนือเขื่อนเพิ่มสูงจนล้นตลิ่งเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน และพื้นที่การเกษตรรอบ 2 เช่นเดียวกับที่ จ.พิจิตร น้ำยมเอ่อท่วม ส่วนที่เชียงใหม่ ฝนถล่มตั้งแต่เช้ามืด น้ำจากดอยสุเทพหลากท่วมตัวเมือง
แม่น้ำมูลขึ้นสูง ส่งผลให้คันกั้นน้ำแตก บริเวณแนวฟันหลอในเทศบาลเมืองวารินชำราบ จ.อุบลราชธานี น้ำไหลทะลักท่วมหลายชุมชน ชาวบ้านต้องอพยพไปอยู่ในศูนย์พักพิง ส่วนที่บุรีรัมย์น้ำท่วมนาข้าว ชาวนาต้องใช้กะละมังลอยคอเกี่ยวข้าวก่อนเน่าเสีย เช่นเดียวกับที่ขอนแก่น ทหารลุยน้ำช่วยชาวนาเกี่ยวข้าว