fbpx

อินเดียขาดแพทย์รับมือโอไมครอน

กรุงนิวเดลีออกมาตรการใหม่ รับมือจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดที่เพิ่มสูงขึ้น ด้านหมอเรียกร้องให้มีการจัดสอบแพทย์ เพื่อจ้างบุคลากรด่านหน้าที่กำลังขาดแคลนอยู่ราว 45,000 คน

รพ.สนาม มธ. มีวัคซีนถึงแค่ 17 ส.ค.นี้

รพ.สนาม มธ. แจงมีวัคซีนถึงแค่ 17 ส.ค. ตอนนี้ต้องขอยืมวัคซีนจากวชิรพยาบาลมาฉีด 5,000 โดส จี้จังหวัดเร่งจัดสรร พร้อมเผยการฉีดเข็ม 3 ในบุคลากรด่านหน้า คืบมาก คาดฉีดครบทุกคน 18 ส.ค.นี้ ขณะกรมควบคุมโรค แจงจัดสรรวัคซีนให้ทุกจังหวัดตามปกติ 2 ล้านโดส

ธอส. เพิ่มวงเงินอีก 4,000 ล้านบาท โครงการ My Hero

ธอส. เปิดลงทะเบียนรอบ 2 โครงการ My Hero : บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เพิ่มวงเงินอีก 4,000 ล้านบาท ลดดอกเบี้ยเงินกู้เหลือ 1.00% ต่อปี นาน 4 เดือน [เงินงวดลดลง 50%]

เชียงใหม่เร่งฉีดไฟเซอร์บุคลากรด่านหน้า ยันจัดสรรวัคซีนโปร่งใส

จังหวัดเชียงใหม่เร่งฉีดวัคซีนไฟเซอร์ป้องกันโควิด-19 ให้กับบุคลากรด่านหน้า ทั้ง 17 โรงพยาบาล โดยจัดสรรตามลำดับความเสี่ยงให้ได้ครบ 3,858 โดส ภายใน 3 วัน ยืนยันจัดสรรวัคซีน โปร่งใส ไม่มีวีไอพี

เริ่มฉีดวัคซีนไฟเซอร์ 9 ส.ค.นี้

อธิบดีกรมควบคุมโรคแจงเริ่มฉีดวัคซีนไฟเซอร์ 9 ส.ค.นี้ มีทั้งหมอพยาบาลด่านหน้า ,ผู้สูงอายุ ,ป่วย 7โรคเรื้อรัง และเด็กอายุ 12 ปี ใน 13 จังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุด แจงเหตุต้องผสมน้ำเกลือเป็นสูตรของทางไฟเซอร์เอง 1 ขวด ฉีดได้ 6 โดส และ 1โดส ใช้แค่ 0.3 ซีซี ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ย้ำการเก็บในอุณหภูมิ 2-8 องศาฯ จะเก็บได้แค่ 1 เดือนเท่านั้น ดังนั้นต้องนัดหมายแม่นยำเพื่อการฉีดให้ได้ตามเป้า คาดฉีดครบภายในเดือนสิงหาคม

เปิดผลศึกษาวัคซีนในไทย สูตรไหนใช้ต่อกร “เดลตา” ได้

กรุงเทพฯ 9 ก.ค.- “นพ.ธีระวัฒน์” เปิดข้อมูลการศึกษาเบื้องต้นของทีมนักวิจัยไวรัสวิทยาไบโอเทค , ศูนย์ฯโรคอุบัติใหม่ คณะแพทย์จุฬาฯ และสถาบันโรคทรวงอก แม้ยังไม่มีวัคซีน mRNA แต่สำหรับบุคลากรด่านหน้า ซึ่งได้รับซิโนแวคเป็นส่วนมาก แต่ระดับการป้องกันขณะนี้คงไม่เพียงพอต่อไวรัสกลายพันธุ์เดลตา การใช้แอสตราฯ เป็นเข็มกระตุ้นน่าจะเพียงพอให้ปลอดภัย ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก “ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha เรื่อง เปิดผลการศึกษาขั้นต้น วัคซีนที่มีในไทย สูตรไหนใช้ต่อกร Covid สายพันธุ์เดลตาได้ โดยมีรายละเอียดว่า “ดร. อนันต์ จงแก้ววัฒนา นักวิจัยไวรัสวิทยา BIOTEC , ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, นพ.เขตต์ ศรีประทักษ์ สถาบันโรคทรวงอก ในขณะที่วัคซีนชนิดอื่นๆเช่น mRNA ,Protein subunit ยังไม่มีการบริหารวัคซีนที่มี2 ชนิด คือ Sinovac […]

...