ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ป้องกันและรักษาโรคไอกรน

2 ธันวาคม 2567 – โรคไอกรน โรคติดต่อที่อาจรุนแรง ในผู้ป่วยบางกลุ่ม โดยเฉพาะเด็กเล็ก โรคนี้เป็นแล้วจะต้องรักษาอย่างไร และมีป้องกันด้วยวิธีใดได้บ้าง ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ไอกรนคืออะไร? ไอกรนเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากแบคทีเรีย อาจมีอาการไอมาก ไอจนอาเจียน ในบางรายอาจรุนแรง โดยเฉพาะในเด็กเล็ก การรักษาโรคไอกรน การป้องกันโรคไอกรน ข้อควรระวัง สัมภาษณ์เมื่อ : 19 พฤศจิกายน 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รู้จักโรคไอกรน

29 พฤศจิกายน 2567 – โรคไอกรน มีอาการเป็นอย่างไร เราติดเชื้อไอกรนได้อย่างไร กลุ่มใดคือกลุ่มเสี่ยง ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล รู้จักโรคไอกรน โรคไอกรนเป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Bordetella pertussis ทำให้เกิดอาการไอเรื้อรังเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในเด็กเล็ก โรคนี้สามารถแพร่เชื้อได้ง่ายผ่านทางการไอ จาม หรือการสัมผัสกับน้ำมูกหรือเสมหะของผู้ป่วย อาการของโรคไอกรน อาการของโรคไอกรนแบ่งเป็น 3 ระยะ: กลุ่มเสี่ยงของโรคไอกรน ทุกคนสามารถติดเชื้อโรคไอกรนได้ แต่กลุ่มเสี่ยงที่มีอาการรุนแรง ได้แก่: การป้องกันโรคไอกรน วิธีป้องกันโรคไอกรนที่ดีที่สุดคือการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไอกรน นอกจากนี้ยังสามารถป้องกันได้ด้วยการหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย ล้างมือบ่อยๆ และสวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ในที่สาธารณะ การรักษาโรคไอกรน โรคไอกรนสามารถรักษาได้ด้วยยาปฏิชีวนะ การรักษาที่ทันท่วงทีสามารถช่วยลดความรุนแรงของอาการและป้องกันการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่น ข้อควรระวัง หากคุณหรือคนในครอบครัวมีอาการไอเรื้อรัง ควรพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยและรักษาที่ถูกต้อง เนื่องจากอาการไออาจเกิดจากโรคอื่น ๆ ได้ เช่น วัณโรค หรือโรคหอบหืด สรุป โรคไอกรนเป็นโรคติดเชื้อที่สามารถป้องกันและรักษาได้ หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับโรคนี้ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับคำแนะนำที่ถูกต้อง สัมภาษณ์เมื่อ […]

ชัวร์ก่อนแชร์: สตรีมีครรภ์ฉีดวัคซีน Tdap เสี่ยงแพร่เชื้อไอกรนสู่ทารก จริงหรือ?

02 ธันวาคม 2567แปลและเรียบเรียงบทความ : อดิศร สุขสมอรรถตรวจทานและพิสูจน์อักษร : คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ข้อมูลที่ถูกแชร์ : มีข้อมูลเท็จเกี่ยวกับวัคซีน Tdap เผยแพร่ทาง Facebook ในต่างประเทศ โดยอ้างว่าการฉีดวัคซีน Tdap ให้กับแม่เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคคอตีบ โรคไอกรน และโรคบาดทะยักแก่ทารกในครรภ์ นอกจากจะไม่มีประโยชน์แล้ว ยังเพิ่มความเสี่ยงทำให้ทารกได้รับเชื้อโรคไอกรนจากแม่ที่ฉีดวัคซีน แล้วติดเชื้อแบบไม่มีอาการ บทสรุป : FACT CHECK : ตรวจสอบข้อเท็จจริง : อย่างไรก็ดี ตรรกะที่ว่าวัคซีนเป็นอันตราย เพราะทำให้แม่ที่ฉีดวัคซีนติดเชื้อแบบไม่มีอาการ และแพร่เชื้อไปยังทารกโดยไม่รู้ตัว ต่างจากแม่ที่ไม่ฉีดวัคซีน ที่ติดเชื้อแล้วจะแสดงอาการอย่างชัดเจน ทำให้ง่ายต่อการสังเกตและหลีกเลี่ยง เป็นการอ้างที่ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการก่อโรคและการทำงานของวัคซีนอย่างชัดเจน โดยปกติแล้ว การแพร่เชื้อจะเกิดขึ้นในระยะที่เชื้อโรคกำลังฟักตัวช่วง 1-2 สัปดาห์ ไม่ว่าผู้เป็นพาหะของโรคจะฉีดวัคซีนหรือไม่ก็ตาม นอกจากนี้ ผู้ติดเชื้อโรคไอกรนที่ไม่ฉีดวัคซีน สามารถแพร่เชื้อได้มากกว่าผู้ป่วยที่ฉีดวัคซีน ไม่ว่าผู้ป่วยจะแสดงอาการหรือไม่ก็ตาม ความถี่ของโรคไอกรนในทารก ข้อมูลจากศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (CDC) พบว่า 1 ใน 3 […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : 5 สัญญาณโรคไอกรน จริงหรือ ?

22 พฤศจิกายน 2567 – บนโซเชียลแชร์ 5 อาการสัญญาณโรคไอกรน มีทั้งไอแห้งรุนแรง 2-3 สัปดาห์ ไข้ต่ำ 38 องศา มีน้ำมูกและอาเจียน มีเลือดออกบริเวณตาขาว และหายใจเข้ามีเสียง “วู้ฟ” สรุป : ✅ แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.ดร.นพ.นพพร อภิวัฒนากุล หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ 19 พฤศจิกายน 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

บ.จีนผลิตวัคซีนเด็กต่ำกว่ามาตรฐานเกือบ 5 แสนชุด

บริษัทยาในจีนที่กำลังถูกสอบสวนเรื่องจำหน่ายวัคซีนสำหรับเด็กต่ำกว่ามาตรฐาน ผลิตวัคซีนต่ำกว่ามาตรฐานเกือบ 500,000 ชุด หรือมากกว่าที่ประเมินในตอนแรกเกือบสองเท่า

...