วธ.สอบวินัยข้าราชการหักหัวคิวเงินเยียวยาหมอลำ

กระทรวงวัฒนธรรม ตั้งกรรมการสอบวินัยอดีตวัฒนธรรมจังหวัดขอนแก่น และข้าราชการในสังกัด รวม 5 คน หลังผลการสอบข้อเท็จจริงพบมูลความผิดการหักหัวคิวเงินเยียวยาหมอลำที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ในโครงการแก่น Land แคน ปี 2565

ชัวร์ก่อนแชร์: ไข่แดงป้องกันโควิด-19 ได้ จริงหรือ?

26 ตุลาคม 2567แปลและเรียบเรียงบทความ : อดิศร สุขสมอรรถตรวจทานและพิสูจน์อักษร : คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ข้อมูลที่ถูกแชร์ : มีข้อมูลเท็จพยายามเชื่อมโยงวิกฤตขาดแคลนไข่ไก่ปี 2023 กับวัคซีนโควิด-19 เผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์ในต่างประเทศ โดยอ้างว่าสาเหตุที่ไข่ไก่ขาดแคลนอย่างหนักในหลายประเทศช่วงปี 2023 เนื่องจากมีรายงานพบความสำเร็จในการผลิตไข่แดงที่สามารถป้องกันไวรัสโควิด-19 ได้ นำไปสู่แผนการทำลายสัตว์ปีกอย่างแพร่หลายเพื่อขัดขวางประชาชนเข้าถึงไข่ไก่แทนการใช้วัคซีน จนนำไปสู่สภาวะขาดแคลนไข่ไก่ไปทั่วโลก บทสรุป : FACT CHECK : ตรวจสอบข้อเท็จจริง : การทดลองใช้แอนติบอดีจากไข่แดงยับยั้งไวรัสโควิด-19 ในเซลล์เพาะเลี้ยง ข้ออ้างเรื่องไข่แดงป้องกันโควิด-19 ได้ นำมาจากงานวิจัยที่ทดลองฉีดโปรตีนหนามของไวรัสโควิด-19 ไปในตัวแม่ไก่ เมื่อไข่ถูกฟัก จึงสกัดเอาแอนติบอดีจากไข่แดงของไก่ที่ได้รับโปรตีนหนามมาทดลองกับเซลล์เพาะเลี้ยงที่ถูกทำให้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ทีมวิจัยพบว่า แอนติบอดีจากไข่แดงของไก่ที่ได้รับโปรตีนหนาม สามารถยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัสโควิด-19 ในเซลล์เพาะเลี้ยง ต่างจากแอนติบอดีของไข่แดงจากแม่ไก่ทั่วไปที่ใช้ไม่ได้ผล ไข่ไก่ทั่วไปป้องกันโควิด-19 ไม่ได้ จากการทดลองสามารถบอกได้ว่า แอนติบอดีจากไข่แดงของไก่ที่ได้รับโปรตีนหนามเท่านั้น ที่สามารถยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัสโควิด-19 ในเซลล์เพาะเลี้ยง ดังนั้นไข่ไก่ทั่วไปที่จำหน่ายในท้องตลาด ไม่สามารถป้องกันไวรัสโควิด-19 ได้ กินไข่มีแอนติบอดีก็ป้องกันโควิด-19 ไม่ได้ แม้ไข่แดงที่มีแอนติบอดีไวรัสโควิด-19 จะสามารถยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัสโควิด-19 ในเซลล์เพาะเลี้ยงได้ […]

ชัวร์ก่อนแชร์: วัคซีนโควิด-19 ทำให้แพ้เนื้อสัตว์ จริงหรือ?

17 ตุลาคม 2567แปลและเรียบเรียงบทความ : อดิศร สุขสมอรรถตรวจทานและพิสูจน์อักษร : คมส์ธนนท์ ศุขอัจจะสกุล ข้อมูลที่ถูกแชร์ : มีข้อมูลเท็จเกี่ยวกับวัคซีนโควิด-19 เผยแพร่โดยนักทฤษฎีสมคบคิดในสหรัฐอเมริกา โดยอ้างว่าสาเหตุที่ประชากรโลกมีอาการแพ้อาหารเพิ่มขึ้น มาจากส่วนประกอบโปรตีนในวัคซีนโควิด-19 ที่ชื่อว่า Alpha-Gal ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย ทำให้ผู้ได้รับวัคซีนเกิดอาการแพ้เนื้อสัตว์ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนการให้ประชากรโลกลดการกินเนื้อสัตว์เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม บทสรุป : FACT CHECK : ตรวจสอบข้อเท็จจริง : Alpha-Gal Syndrome โรคแพ้เนื้อแดงจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม Alpha-Gal Syndrome คืออาการแพ้ที่เกิดจาการบริโภคเนื้อแดงจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ค้นพบครั้งแรกเมื่อปี 2002 ระดับความรุนแรงของอาการมีตั้งแต่ ผิวหนังเป็นผื่น คลื่นไส้ อาเจียน หายใจลำบาก ความดันต่ำ เวียนศีรษะ ท้องร่วง ปอดท้องรุนแรง สาเหตุหลักเชื่อว่ามาจากการถูกกัดโดยแมลงดูดกินเลือด เช่น หมัด เมื่อตัวแมลงเหล่านี้ไปดูดเลือดสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมซึ่งมี Alpha-Gal (Galactose-α-1,3-galactose) โมเลกุลน้ำตาลคาร์โบไฮเดรตอยู่ในร่างกาย แมลงเหล่านี้จะกลายเป็นพาหะนำ Alpha-Gal มาสู่คน เมื่อถูกแมลงกัด […]

“อนุทิน” ยัน 2 รมต. “ทรงศักดิ์-ซาบีดา” ติดโควิด-19

“อนุทิน” ยัน 2 รมต. “ทรงศักดิ์-ซาบีดา” ติดโควิด-19 หลังตรวจซ้ำ 2 รอบ บอกทำงานแทนไปพลางไม่มีปัญหา ชี้แบ่งงาน รมช.ตามความเหมาะสม คาด “ธีรรัตน์” คุม พช.-กทม. เล็งสับไพ่ใหม่ข้าราชการการเมือง ระบุตำแหน่งรองโฆษกรัฐบาล อย่าไปยึดติดของเดิม

“ทรงศักดิ์-ซาบีดา” ติดโควิด รอให้หายดี ก่อนเข้าถวายสัตย์ฯ

2 รัฐมนตรีภูมิใจไทย “ทรงศักดิ์-ซาบีดา” ติดโควิด-19 หลังเข้ารับการตรวจ RT-PCR วานนี้ รอให้อาการหายดี ก่อนเข้าเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณ ในโอกาสต่อไป

ชัวร์ก่อนแชร์: นักสิ่งแวดล้อมวางแผนลดประชากรโลก ก่อนโควิด-19 ระบาด จริงหรือ?

เจน กูดดอลล์ เชื่อว่ายิ่งผู้หญิงมีการศึกษามากเท่าไหร่ โอกาสการมีลูกเกินความจำเป็นก็จะลดลงมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวม

ชัวร์ก่อนแชร์: ความคืบหน้าการวิจัยวัคซีน mRNA พิชิตมะเร็ง

ความสำเร็จของการใช้วัคซีน mRNA ป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 เปิดโอกาสให้มีการนำเทคโนโลยี mRNA ต่อยอดการใช้วัคซีน mRNA สำหรับการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง

ชัวร์ก่อนแชร์: คิงชาร์ลส์ป่วยมะเร็ง หลังอังกฤษใช้วัคซีน mRNA รักษามะเร็ง จริงหรือ?

การประชวรเป็นมะเร็งของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 ไม่เกี่ยวข้องกับการทดลองวันซีน mRNA รักษามะเร็ง

ชัวร์ก่อนแชร์: Pfizer ยอมรับ ไม่เคยทดสอบการแพร่เชื้อจากผู้ฉีดวัคซีน จริงหรือ?

ไม่มีวัคซีนใดป้องกันการติดเชื้อหรือแพร่เชื้อได้ 100% แต่วัคซีนเหล่านั้นช่วยยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทดสอบในภายหลังพบว่าผู้ฉีดวัคซีนโควิด-19 ลดโอกาสการแพร่เชื้อได้มากกว่าผู้ไม่ฉีดวัคซีน

1 2 3 694
...