นายกฯ หนุนพัฒนา “Smart Farmer” ยกระดับเกษตรกรไทย
นายกฯ สนับสนุนการพัฒนา “Smart Farmer” ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทย มุ่งพัฒนาภาคการเกษตรให้เติบโต ผนวกการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตต่อเนื่อง
นายกฯ สนับสนุนการพัฒนา “Smart Farmer” ยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทย มุ่งพัฒนาภาคการเกษตรให้เติบโต ผนวกการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตต่อเนื่อง
นายกฯ และ Google พร้อมทำงานร่วมกัน นำเอาเทคโนโลยีมาช่วยในระบบบริการสาธารณสุข และยกระดับรายได้ของเกษตรกรไทย
“เศรษฐา” หารือผู้บริหารบริษัทคูโบต้า มั่นใจช่วยยกระดับรายได้ให้กับเกษตรกรไทย
นายกฯ พบผู้บริหารบริษัท Kubota พร้อมขยายความร่วมมือนำเทคโนโลยีช่วยเกษตรกรไทย รวมทั้งเห็นชอบร่วม Pilot Project เกษตรกรเพาะปลูกถั่วเหลือง
โฆษกรัฐบาล เผยรัฐบาลโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขานรับแนวทางการริเริ่มของนายกฯ เปิดการเจรจากับเอกชนซาอุฯ เพื่อเพิ่มโอกาส เพิ่มตลาด เพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไทยอยู่ดีกินดี
ก.เกษตรฯ ปักหมุด พาเกษตรกรไทยเลี้ยงโค แม้มีต้นทุนต่ำ แต่มีโอกาสจับเงินล้าน อีกทั้งปูรากฐานทำให้ไทยเป็น “ฮาลาล ฮับ”
กรุงเทพฯ 5 ต.ค.-ttb analytics ศึกษาพบว่า เกษตรกรไทยเผชิญกับปัญหาเชิงโครงสร้างเกี่ยวกับการกระจายรายได้จากผลผลิตที่ไม่เป็นธรรม ชี้พักชำระหนี้เกษตรกร อาจส่งผลแค่ระยะสั้น กระจายรายได้กลับสู่มือเกษตรกรน้อย แนะเร่งพัฒนาศักยภาพการเกษตร
การเลือกตั้งครั้งนี้เกษตรกรไทยเกือบ 10 ล้านคน คาดหวังอยากให้รัฐบาลใหม่ ช่วยผลักดันราคาผลผลิตทางการเกษตรให้สูงขึ้น รวมทั้งอยากได้คนรุ่นใหม่ที่เข้าใจปัญหาเกษตรเข้ามาดูแล สอดคล้องกับผลสำรวจของแม่โจ้โพล ซึ่งพบว่าเกษตรกรไทยมากกว่าร้อยละ 90 จะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง โดยเลือกพรรคเพื่อไทยเป็นอันดับ 1
โฆษกรัฐบาลเผย นายกฯ ดูแลเกษตรกรไทย ช่วยผลักดันสินค้าเกษตรราคาสูงขึ้น เพิ่มรายได้เกษตรกร โครงการประกันราคาข้าวงวดที่ 14 รัฐจ่ายเงินภายใน 18 มกราคม 2566
กรมวิชาการเกษตร พัฒนามันฝรั่งพันธุ์ เชียงใหม่ 1 และ เชียงใหม่ 2 ให้เกษตรกรไทยเพาะปลูก สร้างรายได้ ลดนำเข้า
รวมพลัง 4 ภาคี เกษตรฯ – พลังงาน – ทรัพยากรฯ – สภาอุตฯ MOU หนุนพืชพลังงาน ผลิตไฟฟ้า-พลังงานความร้อน สร้างความมั่นคงให้เกษตรกรไทย
กรุงเทพฯ 29 ส.ค. – คปภ. เดินหน้าพัฒนากลไกด้านประกันภัยพืชผลการเกษตร เพื่อมุ่งคุ้มครองสิทธิประโยชน์ด้านประกันภัยให้กับเกษตรกรไทย นายสุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (เลขาธิการ คปภ.) เปิดเผยว่า จากสภาวการณ์ของสภาพภูมิอากาศของโลกที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทำให้เกิดภัยธรรมชาติที่ทวีความรุนแรง และเกิดขึ้นบ่อยครั้ง เช่น น้ำท่วม ลมพายุ ภัยแล้ง แผ่นดินไหว ฯลฯ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายและผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทยที่มีประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก ดังนั้น การลดความเสี่ยงภัยด้วยระบบประกันภัย จึงมีความสำคัญในการช่วยขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ และที่สำคัญเกษตรกรสามารถนำเงินที่ได้รับจากการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไปดำเนินการเพาะปลูกในฤดูการผลิตต่อไปที่ผ่านมาการเกิดภัยธรรมชาติ และการเกิดโรคระบาดที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดความเสียหายของผลผลิตทางการเกษตรยังคงเกิดขึ้นทุกปี และแม้ว่าปัจจุบัน ได้มีการนำระบบประกันภัยเข้ามาช่วยรับภาระความเสี่ยงภัยที่เกิดขึ้น เช่น การประกันภัยข้าวนาปี การประกันภัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่รัฐบาลร่วมสนับสนุนค่าเบี้ยประกันภัย ซึ่งเป็นโครงการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง การดำเนินงานดังกล่าว เป็นการเสนอโครงการช่วยเหลือแบบปีต่อปี โดยขึ้นกับนโยบายของรัฐบาลในแต่ละปี ดังนั้น เพื่อให้การช่วยเหลือเกษตรกรทางด้านประกันภัยมีความต่อเนื่องและยั่งยืน สำนักงาน คปภ. จึงได้ร่วมกับศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารความเสี่ยงทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ด้วยการประกันภัย เพื่อศึกษาและเสนอแนวทางการจัดทำร่างกฎหมายการประกันภัยทางด้านเกษตรกรรม ได้แก่ พืชผล ปศุสัตว์ และประมง โดยได้มีการศึกษากฎหมายประกันภัยทางด้านเกษตรกรรมจากหลายประเทศ อาทิ […]