“ใ” ไม้ม้วนในภาษาไทย มีคำไหนบ้าง? | คำไทยใช้อย่างไร
“ใ” ไม้ม้วนในภาษาไทยที่หลายคนคงเคยใช้และรู้จักกันดี แต่รู้ไหมครับว่าในภาษาไทยเรานั้นมีคำที่ใช้ “ใ” แค่ 20 คำเท่านั้น มีคำไหนบ้าง ไปดูกันเลยครับ
“ใ” ไม้ม้วนในภาษาไทยที่หลายคนคงเคยใช้และรู้จักกันดี แต่รู้ไหมครับว่าในภาษาไทยเรานั้นมีคำที่ใช้ “ใ” แค่ 20 คำเท่านั้น มีคำไหนบ้าง ไปดูกันเลยครับ
“อนุชา นาคาศัย” รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดงานเสวนาทางวิชาการ “รู้ทันสีสันภาษาสื่อ” เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ 2563 กระตุ้นคนไทยใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง
บนสังคมออนไลน์แชร์หลากหลายคำที่บอกว่าเป็น “ศัพท์บัญญัติ” โดย “ราชบัณฑิตยสถาน” จะยากไปไหม ? เช่น Twitter บัญญัติว่า “สำเนียงสกุณา” หรือ Big Data บัญญัติว่า “ข้อมูลมหัต” แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
ครูเป็นห่วงเด็กไทยสมัยนี้ พูดและเขียนภาษาไทยผิดเพี้ยน ทำให้ครูภาษาไทยท่านหนึ่ง ปิ๊งไอเดีย นำคำศัพท์ภาษาไทยที่ใช้กันบ่อยๆ แต่สะกดผิด มาใส่ทำนองแร็ป เป็นทริคจำได้ง่าย ฟังสนุกแถมได้ความรู้ เอาใจวัยรุ่นยุคนี้ไปเลย
วันนี้เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ หลายฝ่ายกังวลเรื่องการใช้ภาษาไทย ที่นับวันคำพูด คำเขียน เดิมๆแต่ความหมายกลับแปลก แตกต่างจากเดิมไปมาก รวมทั้งการเกิดขึ้นมาของศัพท์ใหม่ๆ จนตามกันไม่ทัน เหล่านี้จะส่งผลอะไรกับภาษาไทยหรือไม่ ติดตามจากรายงาน
นายกรัฐมนตรี เผยรัฐบาลมีนโยบายอนุรักษ์ ฟื้นฟูภาษาไทยและภาษาถิ่น ขอเด็กและเยาวชนใช้ภาษาอย่างถูกต้อง เหมาะสม เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ระบุภาษาพูด-เขียน แสดงความเป็นไทยและความเจริญของประเทศชาติ
เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ 29 กรกฎาคม เจ้าหน้าที่ชาวอเมริกันของสถานทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย ทดสอบความสามารถด้านภาษาไทยของพวกเขาด้วยวลีปราบเซียนต่างๆ
นายกสมาคมครูภาษาไทยฯแสดงความไม่เห็นด้วยกับการเผยแพร่คำพูดที่ไม่เหมาะสมของสื่อ ติงหน่วยงานรัฐเพิกเฉย ควรทำหน้าที่ บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง
สำนักข่าวไทย 27 ก.ค.-ราชบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ราชบัณฑิตยสภา มองศัพท์ฮิตวัยรุ่นยุคใหม่ เป็นวิวัฒนาการทางภาษา อาจอยู่หรือหายไปก็ได้ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์การใช้ ดร.นิตยา กาญจนะวรรณ ราชบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ราชบัณฑิตยสภา กล่าวถึงผลสำรวจความเห็นเยาวชน พบคำว่า “ลำไย-ตะมุตะมิ-นก-โดนเท-จุงเบย-สายเปย์” ติดโผคำศัพท์ฮิตวัยรุ่นยุคใหม่ ว่า ไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร เพราะภาษาก็มีวิวัฒนาการ ก็ต้องมีคำใหม่ๆ เกิดขึ้นทุกวันเพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ได้ก็ใช้ไป พอสักวันไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ไม่สามารถจะสื่อได้ก็จะหายไปเอง เป็นเรื่องธรรมดา อาจจะอยู่หรือหาย ถ้าอยู่ก็หมายถึงคนทั้งสังคมยอมรับ ไม่อยู่ก็แปลว่าหมดประโยชน์ […]
ที่มณฑลยูนนาน ภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศที่ได้รับความนิยมในกลุ่มนักศึกษาจีน มีมหาวิทยาลัยเกือบ 30 แห่ง ที่เปิดหลักสูตรภาษาไทยรองรับ
ภาษาไทยมีเอกลักษณ์ที่ความงดงามไม่เหมือนใคร ปัจจุบันเทคโนโลยีการสื่อสารทำให้การใช้ภาษาไทยผิดเพี้ยน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติอยากให้คนไทยใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง โดยยึดพระอัจฉริยภาพทางภาษาและวรรณกรรมของในหลวงรัชกาลที่ 9
เยาวชนจีนสนใจประเทศสมาชิกอาเซียนมากขึ้น สังเกตได้จากความสนใจใฝ่เรียนรู้ภาษาอาเซียน เพื่อต่อยอดสู่การทำงานในอนาคต