
วิกฤติ 2 เขื่อนใหญ่ระดับประเทศน้ำใช้ได้ไม่ถึง 10%
ช่วงกลางฤดูฝน เขื่อนหลายแห่งมีน้ำไหลเข้าเขื่อนจนพ้นวิกฤติแล้ว แต่เขื่อนขนาดใหญ่ 2 แห่งของประเทศทางภาคเหนือ คือเขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้ำน้อยใช้การได้ไม่ถึง 10%
ช่วงกลางฤดูฝน เขื่อนหลายแห่งมีน้ำไหลเข้าเขื่อนจนพ้นวิกฤติแล้ว แต่เขื่อนขนาดใหญ่ 2 แห่งของประเทศทางภาคเหนือ คือเขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้ำน้อยใช้การได้ไม่ถึง 10%
“พล.อ.ประวิตร” กำชับผู้ว่าราชการจังหวัด-ท้องถิ่น เติมน้ำใต้ดินตามหลักวิชาการ แก้ปัญหาภัยแล้งอย่างยั่งยืน
“พล.อ.ประวิตร” ลงพื้นที่ภาคเหนือ ยกจังหวัดลำปางเป็นต้นแบบแก้แล้ง ย้ำเร่งแผนพัฒนาแหล่งน้ำระยะสั้น-ยาว
“พล.อ.ประวิตร” ห่วงภัยแล้งเตรียมลงพื้นที่ลำปางพรุ่งนี้ติดตามสถานการณ์น้ำ และการช่วยเหลือประชาชน ขณะที่จังหวัดประชุมความพร้อมรายงานข้อมูลทั้งการแก้ปัญหาและพัฒนาแหล่งน้ำ
“พล.อ.ประวิตร” ลงพื้นที่อีสานติดตามการแก้ปัญหาน้ำแล้งที่จังหวัดเลย ดันนวัตกรรมน้ำบาดาล หอถังยักษ์ ช่วยเกษตรกร
ภัยแล้งรุนแรงสุดในรอบ 10 ปี ส่งผลให้นาบัวกว่า 40 ไร่ กลางเมืองอ่างทอง ขาดน้ำ ยืนต้นตายเกลี้ยงบึง
น้ำลดตอผุด เกิดศิลปะใต้น้ำเขื่อนลำแชะ จ.นครราชสีมา สร้างสีสันสวยงามแปลกตา หลังจมลึกนาน 21 ปี
จ.เลย ภัยแล้งวิกฤติหนัก ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ของจังหวัดลดลงต่ำสุดในรอบ 33 ปี ชาวบ้านและผู้ประกอบการแพท่องเที่ยวเดือดร้อน วอนหน่วยงานราชการช่วยเหลือเยียวยา
บมจ. ดับบลิวเอชเอ ยูทิลิตี้ส์ แอนด์ พาวเวอร์ ทุ่มงบกว่า 300 ล้านบาท เพื่อนำน้ำที่ใช้แล้วมาบำบัด และนำกลับมาใช้ใหม่ หวังแก้ปัญหาภัยแล้งในพื้นที่ EEC
กรุงเทพฯ 19 พ .ค.-ส.ส.เพื่อไทยระบุปีนี้ยโสธรเจอภัยแล้งคุกคามหนักสุดรอบ40 ปี จี้รัฐแจงใช้งบ 6 หมื่นล้านแก้ปัญหาที่ไหนบ้าง นายปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ ส.ส.ยโสธร พรรคเพื่อไทย เปิดเผยว่า ฝนทิ้งช่วงมา ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ที่ผ่านมา และสภาพอากาศแห้งแล้ง ส่งผลให้พี่น้องประชาชนใช้ชีวิตลำบากมาก โดยเฉพาะภาคการเกษตร ไม่สามารถทำนาปลูกข้าวได้ ขณะที่แหล่งน้ำตามธรรมชาติของจังหวัดแห้งทุกบ่อ ส่งผลกระทบกับประชาชนไม่มีน้ำกินน้ำใช้ ล่าสุดบ่อโจ้โก้ซึ่งเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติเพียงแห่งเดียวที่ใช้ผลิตน้ำประปา มีประชาชนกว่า 400 ครอบครัวได้ประโยชน์จากน้ำในบ่อนี้ ปัจจุบันน้ำในบ่อนี้แห้งขอดลงจนชาวบ้านในพื้นที่สามารถเดินข้ามไปมาได้ ถือว่าภัยแล้งครั้งนี้รุนแรงสุดในรอบ 40 ปี นายปิยวัฒน กล่าวว่า ที่ผ่านมากรมชลประทานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่สำรวจความเดือดร้อนของประชาชน รวมทั้งสำรวจความเสียหายจากความแห้งแล้งที่เกิดขึ้น แต่ไม่สามารถทำอะไรได้ เพราะกรมชลประทานอ้างว่าไม่มีงบประมาณสนับสนุนขุดบ่อหรือการเจาะน้ำบาดาลเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้ประชาชน ทั้งที่ผ่านมารัฐบาลใช้งบประมาณกว่า 60,000 ล้านบาทแก้ปัญหาภัยแล้ง อยากถามรัฐบาลว่างบประมาณไปใช้ตรงไหนบ้าง “การที่รัฐบาลออกพระราชกำหนดเงินกู้แก้ปัญหาเศรษฐกิจ รวมทั้งฟื้นฟูประเทศจำนวนกว่า 1.9 ล้านล้านบาท รัฐบาลต้องเร่งแก้ปัญหาภัยแล้งช่วยเหลือประชาชน อย่าอ่านแต่รายงานที่หน่วยงานราชการนำเสนอขึ้นไป พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมต้องลงพื้นที่ อย่าสั่งการในห้องแอร์ เพราะความเดือดร้อนของประชาชนรอไม่ได้ งบประมาณมหาศาลที่ใช้หมดไป แต่ความเดือดร้อนของพี่น้องประชาชนไม่ได้รับการแก้ไข ที่ผ่านมาไม่มีโครงการไหนของรัฐบาลที่แก้ปัญหาภัยแล้งแบบยั่งยืน […]
กฟผ. ร่วมบริหารจัดการน้ำรับมือภัยแล้ง ตามแนวทาง สทนช. ติดตามสถานการณ์น้ำในเขื่อน พร้อมให้การช่วยเหลือประชาชน รอบพื้นที่เขื่อนของ กฟผ. และ เตรียมแผนบริหารจัดการน้ำฯ ช่วงฤดูฝนที่จะถึงนี้
“พล.อ.ประวิตร” เตรียมลงพื้นที่ภาคตะวันออก ติดตามการแก้ปัญหาภัยแล้ง พร้อมมอบนโยบายและให้กำลังใจ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน