น่าห่วง! เขื่อน 27 แห่งโคราช เหลือน้ำใช้เพียง 37%
สถานการณ์ภัยแล้งปีนี้น่าห่วง ที่ จ.นครราชสีมา ปริมาณในเขื่อนภาพรวม 27 แห่ง เหลือน้ำใช้การเพียง 37%
สถานการณ์ภัยแล้งปีนี้น่าห่วง ที่ จ.นครราชสีมา ปริมาณในเขื่อนภาพรวม 27 แห่ง เหลือน้ำใช้การเพียง 37%
สถานการณ์ภัยแล้งที่ภาคอีสาน โดยเฉพาะที่นครราชสีมา กำลังเผชิญวิกฤติภัยแล้งอย่างหนัก ท่ามกลางสภาพอากาศร้อนจัดและฝนที่คาดการณ์ว่าจะไม่ตกตามฤดูกาล ส่งผลกระทบต่อประชาชนในหลายอำเภอ ทั้งการทำการเกษตร และอุปโภคบริโภค
เหลือน้ำไม่ถึง 1% ของความจุ แก้มลิงหนองแร้งเฒ่า จ.นครราชสีมา แห้งขอด ชาวบ้านขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภค
เกษตรกรกลุ่มนาแปลงใหญ่ อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ปรับเปลี่ยนวิธีปลูกข้าวนาปรัง โดยหันมาใช้วิธี “เปียกสลับแห้ง” ซึ่งไม่ได้สูบน้ำเข้าไปขังในแปลงตลอดอายุข้าว อีกทั้งยังเป็นวิธีที่ประหยัดปุ๋ย ในภาวะที่ปุ๋ยราคาแพงขึ้น โดยจากที่เคยทำวิธีนี้ในปีที่ผ่านมา พบว่าผลผลิตสูงอย่างน่าพอใจ
“พล.อ.ประวิตร” กำชับทุกหน่วยงานติดตามสถานการณ์น้ำ ร่วมวางแผนไม่ให้ขาดแคลนช่วงต้นฤดูฝน เร่งสร้างความเข้าใจเกษตรกร
เกาะติดสถานการณ์ภัยแล้ง ล่าสุดส่งผลกระทบแล้ว 23 จังหวัด ประชาชนเดือดร้อนประมาณ 6,000 หมู่บ้าน
ปภ. ประกาศภัยแล้ง 21 จังหวัด 127 อำเภอ ประชาชนเดือดร้อน 5,809 ชุมชน ขณะที่ปริมาตรน้ำในเขื่อนใหญ่ทั่วประเทศ น้อยกว่าปีที่แล้ว 9,096 ล้าน ลบ.ม.
เกษตรกรอำเภอพรมพิรามจังหวัดพิษณุโลกใช้พื้นที่นาข้าว มาปลูกแตงโม พืชใช้น้ำน้อยเสริมรายได้ พร้อมบังคับให้ออกลูกเป็นรูปหัวใจ สร้างรายได้ ลดการขาดทุน และยังเป็นที่ต้องการของตลาด โดยเตรียมขายในวันวาเลนไทน์
กระทรวงเกษตรฯ เตรียมมาตรการและการวางแผนการบริหารจัดการน้ำฤดูแล้ง ปี 62/63
กรมชลฯ ประชุมด่วนร่วมกับประปาและอุตสาหกรรม แก้ไขปัญหาอีสานกลางน้ำน้อย
ตรวจสอบปริมาณน้ำในเขื่อนทั้งประเทศ ยังมีแนวโน้มลดลงจากเมื่อวานอยู่ในเกณฑ์ “น้ำน้อย” ภาพรวมปริมาณน้ำใช้การทั่วประเทศวันนี้มี 10,793.72 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 15% ที่น่าห่วงคือเขื่อนอุบลรัตน์ ปัจจุบันน้ำใช้การเป็นน้ำก้นอ่าง นำไปใช้แล้ว 15.13 ล้าน ลบ.ม. หรือ -0.82%
สถานการณ์น้ำในเขื่อนลำพระเพลิง 1 ใน 4 เขื่อนขนาดใหญ่ของจังหวัดนครราชสีมา มีปริมาณน้ำใช้การเหลืออยู่เพียง 22 ล้านลูกบาศก์เมตร ต่ำสุดในรอบกว่า 50 ปี