นักวิทย์ออสเตรเลียพบนอนกรนเชื่อมโยงภาวะความดันโลหิตสูง

การวิจัยที่ดำเนินการโดยนักวิทยาศาสตร์ด้านการนอนหลับจากมหาวิทยาลัยฟลินเดอร์สในรัฐเซาธ์ออสเตรเลียของออสเตรเลีย พบความเชื่อมโยงระหว่างการนอนกรนและภาวะความดันโลหิตสูง โดยผู้ที่นอนกรนเป็นประจำตอนกลางคืนมีแนวโน้มที่จะมีระดับความดันโลหิตสูง

ชัวร์ก่อนแชร์ : 8 พฤติกรรมการนอนกรน เสี่ยงหยุดหายใจ จริงหรือ ?

ตามที่มีการแชร์แบบประเมิน 8 ข้อสังเกตพฤติกรรมการนอนกรน ที่อาจเสี่ยงกับการเป็นโรคหยุดหายใจขณะหลับได้ มีตั้งแต่มีท่าทางการนอนที่ผิดปกติ ตื่นมาแล้วคอแห้งมากกว่าปกติ รวมไปถึงมีอาการปวดศีรษะมาก บทสรุป : แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พญ.นวรัตน์ เกษมสุข ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สรุปว่า วิธีสังเกตพฤติกรรมนอนกรนตามที่แชร์กันมีความถูกต้อง เป็นการประเมินอาการตัวเองในเบื้องต้น ส่วนเรื่องของการประเมินปัจจัยเสี่ยงที่เป็นคะแนนอาจมีรายละเอียดที่แตกต่างออกไปเล็กน้อย แบบประเมิน 8 ข้อสังเกตพฤติกรรมการนอนกรน มีดังนี้ 1.มีคนเห็นหยุดหายใจขณะหลับ 2.มีท่าทางผิดปกติขณะหลับ เช่น กัดฟัน ขากระตุก 3.ตื่นนอน คอแห้ง เจ็บคอมากผิดปกติ 4.ตื่นมามีอาการปวดศีรษะมาก 5.ตื่นมาง่วงนอน เหมือนพักผ่อนไม่พอ 6.เป็นโรคความดันโลหิตสูง 7.เป็นผู้ชายผู้หญิง วัยหมดประจำเดือน 8.มีอายุมากกว่า 50 ปี สัมภาษณ์เมื่อ 23 มีนาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ : เลเซอร์รักษานอนกรน จริงหรือ ?

แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม
การเลเซอร์ผ่านช่องปาก สามารถรักษาอาการนอนกรนได้เฉพาะผู้ป่วยบางรายเท่านั้น แพทย์อาจจะพิจารณาการรักษาซ้ำ หรือ แนะนำทางเลือกในการรักษาอื่น ๆ ที่เหมาะสมมากกว่าต่อไป

ชัวร์ก่อนแชร์ : 5 ข้อควรปฏิบัติ แก้นอนกรนด้วยตนเอง จริงหรือ ?

แชร์ได้ อธิบายเพิ่ม สามารถใช้วิธีนี้ได้ในเบื้องต้น แต่ควรพบแพทย์เพื่อประเมินอาการและรักษาอย่างเหมาะสม

เตือนนอนกรนเสียงดังเป็นประจำ เสี่ยงหยุดหายใจขณะหลับ

สถาบันโรคทรวงอก 7 ก.พ.- กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคทรวงอก เตือนนอนกรนเสียงดังเป็นประจำ ง่วงนอนมากผิดปกติ ในเวลากลางวัน อย่าละเลย อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับโดยไม่รู้ตัว

ชัวร์ก่อนแชร์ : อุปกรณ์จิ๋วใส่จมูกแก้นอนกรนได้ จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์อุปกรณ์ขนาดจิ๋วสำหรับใส่จมูกขณะนอนหลับ สามารถช่วยลดหรือแก้อาการนอนกรนได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : นอนกรนเสี่ยงโรคอันตราย จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์ว่าการนอนกรน เป็นความเสี่ยงของหลายโรคอันตราย ตั้งแต่โรคหัวใจไปจนถึงโรคมะเร็ง เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

...