แก้รธน. มาตรา 272 ทางออกประเทศ ?
การประชุมร่วมรัฐสภาสมัยวิสามัญเพื่อหาทางออกประเทศ มีหนึ่งข้อเสนอคือให้แก้ไข มาตรา 272 เพื่อปิดสวิสช์ ส.ว. และเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ แนวทางนี้จะเป็นทางออกของประเทศได้หรือไม่ ติดตามจากรายงาน
การประชุมร่วมรัฐสภาสมัยวิสามัญเพื่อหาทางออกประเทศ มีหนึ่งข้อเสนอคือให้แก้ไข มาตรา 272 เพื่อปิดสวิสช์ ส.ว. และเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ แนวทางนี้จะเป็นทางออกของประเทศได้หรือไม่ ติดตามจากรายงาน
วันนี้จะครบกำหนดเส้นตายที่ “กลุ่มคณะราฎร 63” ยื่นเงื่อนไขให้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี จะต้องลาออกจากตำแหน่ง ก่อนประกาศยกระดับการเคลื่อนไหวที่กดดันยิ่งขึ้น และไม่กี่วันนับจากนี้จะมีการเปิดประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญเพื่อหาทางออกปัญหาบ้านเมืองวันนี้สำนักข่าวไทย อสมท มีความเห็นจาก 3 นักวิชาการถึงแนวโน้มและทางออกจากสถานการณ์
ความคาดหวังว่าการประชุมสภาสมัยวิสามัญ วันที่ 26-27 ตุลาคมนี้ อาจเป็นทางออกหนึ่งของวิกฤติการเมือง การชุมนุมที่เกิดขึ้น แต่อาจไม่เป็นเช่นนั้น เพราะจะไม่หยิบยกร่างแก้ไขธรรมนูญมาหารือ นักวิชาการเสนอทางออกของเรื่องนี้
แนวทางสันติวิธียังคงจำเป็นที่จะต้องนำมาใช้กับสถานการณ์ทางการเมืองที่ตึงเครียดในขณะนี้ โดยนักวิชาการเสนอแนะให้ตั้งกรรมการขึ้นมาเพื่อหาทางออก
การเดินหน้าแก้ไขรัฐธรรมนูญ เป็นอีกทางหนึ่งที่คาดหวังกันว่าจะสามารถคลี่คลายสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนี้ได้ จะมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด
นักวิชาการต่างสนับสนุนใช้สภาฯ เป็นที่แก้ปัญหาบ้านเมืองในขณะนี้ และเสนอตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ เชิญทุกฝ่ายเข้าร่วมเปิดประตูเจรจาหาทางออกประเทศ
กลไกรัฐสภาเป็นอีกทางออกหนึ่งที่หลายฝ่ายเห็นว่าจะช่วยคลี่คลายสถานการณ์การเมืองในขณะนี้ได้ และในวันพรุ่งนี้ตัวแทนทุกพรรคการเมืองจะหารือกับประธานสภาผู้แทนราษฎร
ทุกครั้งที่มีการชุมนุม สื่อมวลชนถือเป็นอาชีพแรกๆที่จะต้องเข้าไปปฏิบัติงานอยู่ในเหตุการณ์ บางครั้งสถานการณ์เข้มข้น มีการยกระดับทั้งผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ อาจได้เห็นข่าวสื่อมวลชนได้รับบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต จากการปฏิบติงาน วันนี้พาไปดูความพร้อมของผู้สื่อข่าวและช่างภาพ ว่าพวกเขาเตรียมตัวอย่างไรก่อนไปปฏิบัติงาน
กรุงเทพฯ 16 ต.ค. – นักวิชาการแนะผู้ชุมนุมกำหนดข้อเรียกร้องให้ชัดเจน พร้อมชี้ทางออกในการคลี่คลายสถานการณ์เร็ว คือ การแก้รัฐธรรมนูญในประเด็นเอื้อการสืบทอดอำนาจ เชื่อคลี่คลายปมขัดแย้ง. – สำนักข่าวไทย
กรุงเทพฯ 15 ต.ค. – การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปฏิบัติการขอคืนพื้นที่ ถ.พิษณุโลก ข้างทำเนียบรัฐบาล จากกลุ่มผู้ชุมนุมคณะราษฎร 2563 เมื่อช่วงเช้ามืดวันนี้ (15 ต.ค.) มีสาระสำคัญ ข้อห้าม ข้อบังคับ อย่างไร ติดตามจากรายงานของทีมข่าวการเมือง. – สำนักข่าวไทย
สำนักข่าวไทย รวบรวมภาพเหตุการณ์การสลายการชุมนุมของคณะราษฎร 2563 เมื่อช่วงเช้ามืดที่ผ่านมา ต่อเนื่องไปจนถึงการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ เมื่อช่วงบ่ายวันนี้
กรุงเทพฯ 14 ต.ค. – สำนักข่าวไทย ประมวลเหตุการณ์สำคัญของการชุมนุมกลุ่มคณะราษฎร รวมถึงการรวมตัวคู่ขนานของกลุ่มต่างๆ ตลอดทั้งวันจนถึงช่วงเย็นวันนี้ ซึ่งพบว่ามีการกระทบกระทั่งกันในบางจุด ทำให้มีผู้บาดเจ็บเล็กน้อย เวลา 08.00 น. กลุ่มผู้ชุมนุมคณะราษฎร รวมตัวกันที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เตรียมพร้อมเคลื่อนขบวนไปยังทำเนียบรัฐบาล พร้อมย้ำ 3 ข้อเรียกร้อง ไม่ให้ใช้ความรุนแรง ขณะที่ตำรวจระดมกำลังเตรียมพร้อม เน้นปิดกั้นตามเส้นทางจุดยุทธศาสตร์ ตามเส้นทางอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย แยกผ่านฟ้าลีลาศ ถ.ราชดำเนินนอก สะพานมัฆวานรังสรรค์ รวมถึงบริเวณสะพานเทวกรรมรังรักษ์ และสะพานชมัยมรุเชฐ ที่เป็นเส้นทางเคลื่อนขบวนสำรอง เวลา 09.30 น. มีความเคลื่อนไหวบริเวณด้านหน้าทำเนียบรัฐบาล ฝั่งประตู 5 กลุ่มคณะกรรมการเครือข่ายไฟฟ้า ประปาและยา เพื่อชาติประชาชน (คฟปย.) และกลุ่มของ พล.ต.นพ.เหรียญทอง แน่นหนา ผอ.โรงพยาบาลมงกุฎวัฒนะ ทยอยรวมตัวกัน ภารกิจหลัก คือ รับเสด็จฯ โดยประกาศหากกลุ่มคณะราษฎรสกัดขบวนเสด็จฯ จะไม่ยินยอม และยอมรับว่า การที่ตำรวจคุมตัว “ไผ่ ดาวดิน” ดำเนินคดี อาจเป็นการเติมเชื้อไฟ […]