ชัวร์ก่อนแชร์: WHO ไม่ยอมรับภูมิคุ้มกันธรรมชาติ จริงหรือ?
WHO ให้ความสำคัญกับการสร้าง “ภูมิคุ้มกันหมู่” ผ่านการฉีดวัคซีน แต่ไม่ได้ปฏิเสธว่าการติดเชื้อสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้
WHO ให้ความสำคัญกับการสร้าง “ภูมิคุ้มกันหมู่” ผ่านการฉีดวัคซีน แต่ไม่ได้ปฏิเสธว่าการติดเชื้อสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้
CDC อนุมัติการใช้ยา Ivermectin แก่ผู้อพยพในสหรัฐฯ เพื่อป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากพยาธิเส้นด้าย ไม่ใช่การใช้เพื่อป้องกันหรือรักษาผู้ป่วยโควิด 19 แต่อย่างใด
มีการเรียกเก็บวัคซีน Moderna ล็อตที่มีปัญหา แต่รัฐบาลญี่ปุ่นยังคงรับรองการใช้วัคซีน Moderna ต่อไป
WHO ยืนยันว่า Ivermectin ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ได้
WHO, EMA, FDA ยืนยันว่า Ivermectin ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ได้
ยังไม่มีการวิจัยที่พิสูจน์ได้ว่ายาบรรเทาอาการข้างเคียงจากวัคซีนโควิด 19 สามารถใช้ได้ผล
1.กิจวัตรประจำวันไม่ส่งผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน
2.สามารถใช้ยาลดไข้หลังฉีดวัคซีนได้
3.วิตามินซีชนิดเม็ดหรือผักผลไม้มีประโยชน์ไม่ต่างกัน
4.งดแป้งและน้ำตาลไม่ช่วยป้องกันโควิด 19
5.อาบน้ำอุ่นไม่ช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันในร่างกาย
เป็นการนำคดีลักลอบนำขวดวัคซีนเหลือใช้มาใส่น้ำเกลือฉีดให้ประชาชนมาใส่ร้ายประเทศอินเดีย
แม้ FDA จะพบความเสี่ยงการเกิดกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร (GBS) จากวัคซีน Johnson & Johnson แต่ความเสี่ยงมีน้อยมาก
ไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์พิสูจน์ได้ว่า วัคซีนโควิด 19 หรือส่วนประกอบใดๆ ในวัคซีนจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย
อัลเบิร์ต บอร์ลา ซีอีโอของบริษัท Pfizer ยืนยันการฉีดวัคซีน Pfizer เข็มที่ 2 ผ่าน Twitter ของตนเองตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2021
วัคซีน Pfizer สามารถเก็บรักษาในอุณหภูมิที่ไม่เย็นจัด แต่อายุการใช้งานจะสั้นลงตามลำดับ