ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : เสริมภูมิต้านทานป้องกันโควิด-19 จริงหรือ ?
บนสังคมออนไลน์แชร์แนะนำให้เสริมภูมิต้านทาน เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ได้ แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์แนะนำให้เสริมภูมิต้านทาน เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ได้ แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์ แชร์เตือนว่า การใส่แหวนหรือนาฬิกาอาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด -19 แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับการดูแลสัตว์เลี้ยงในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ต้องปรับเปลี่ยนวิธีการเลี้ยงอย่างไรบ้าง ไปติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์แนะนำว่า การนำน้ำมันมะกอกบริสุทธิ์มาหยอดจมูกจะช่วยแก้อาการไซนัสที่เกิดจากโรคโควิด-19 ได้ แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์เตือนคนที่สูบบุหรี่ว่า มีโอกาสเสี่ยงติดโควิด-19 ได้ง่าย และเสี่ยงมีอาการที่รุนแรง เรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
ในสภาวการณ์ที่หลายคนจะต้องดำเนินกิจการ ทำงาน ค้าขาย หรือศึกษาเล่าเรียน ท่ามกลางการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เราจะสามารถประเมินและลดความเสี่ยงได้อย่างไร ? ติดตามข้อเท็จจริงเรื่องนี้จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์ว่า การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ทำให้ภูมิต้านทานของร่างกายที่มีอยู่ชุดเดียวรับศึกหนัก กระทบต่อการป้องกันโควิด-19 ได้ ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์เตือนว่า การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ช่วงนี้จะเพิ่มความเสี่ยงในการติดโควิด-19 ประมาณ 36% โดยอ้างอิงงานวิจัยจากต่างประเทศ แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์ภาพและข้อความว่าอาการใหม่ของโควิดอาจจะแสดงบนผิวหนัง แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์หลากหลายวิธีการทดสอบชนิดของแอลกอฮอล์ที่นำมาใช้ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อโควิด-19 มีวิธีใดบ้าง ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์ข้อความว่า อาการตาแดงอาจมาจากการติดเชื้อโควิด-19 ได้แต่ข้อเท็จจริงเรื่องนี้เป็นอย่างไร ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
บนสังคมออนไลน์แชร์ข่าวที่มีการพบสุนัขและแมวในต่างประเทศติดเชื้อโควิด-19 รวมถึงมีงานวิจัยที่บอกว่าแมว และเฟอร์เร็ต เป็นพาหะของโรคได้ ข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์