สีสันวันอภิปรายงบฯ 65 ยุคโควิด
การพิจารณาร่างกฎหมายงบประมาณปี 2565 วันแรกนี้ ส.ส.เองก็ต้องปรับเปลี่ยนวิธีการอภิปราย ภายใต้มาตรการป้องกันโควิด-19 อย่างเข้มข้น.-สำนักข่าวไทย
การพิจารณาร่างกฎหมายงบประมาณปี 2565 วันแรกนี้ ส.ส.เองก็ต้องปรับเปลี่ยนวิธีการอภิปราย ภายใต้มาตรการป้องกันโควิด-19 อย่างเข้มข้น.-สำนักข่าวไทย
มีร่างกฎหมายสำคัญอีกฉบับที่เตรียมเข้าสู่การพิจารณาของสภาฯ สัปดาห์หน้า คือร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2565 โดยนักวิชาการมองว่ายังจัดสรรงบไม่ตอบโจทย์สถานการณ์ แต่ยังสามารถปรับเปลี่ยนได้
วันพรุ่งนี้สภาผู้แทนราษฎรจะพิจารณาพระราชกำหนด 2 ฉบับ เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ซึ่งหลายฝ่ายมองว่า พ.ร.ก. 2 ฉบับ จำเป็นและเป็นประโยชน์ แต่ยังมีข้อห่วงใยในทางปฏิบัติ
อสมท 19 พ.ค.-ไปฟังเสียงสะท้อนจากนักวิชาการกรณีรัฐบาลออก พ.ร.ก.กู้เงิน 7 แสนล้านบาท เพื่อแก้ปัญหาโควิด-19.-สำนักข่าวไทย
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ไม่สิ้นสุดสมาชิกภาพ ส.ส. และรัฐมนตรี แม้ต้องคำพิพากษาคดีค้ายาเสพติดศาลออสเตรเลีย แต่เนื่องจากเป็นคำตัดสินของศาลต่างประเทศ จึงไม่มีผลตามกฎหมายไทย
บรรดาพรรคร่วมรัฐบาลต่างเดินหน้าเตรียมเสนอญัตติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ครั้งนี้เป็นการขอแก้ไขแบบรายมาตรา นักวิชาการมองว่าจะไม่มีปัญหา.
กฎหมายสำคัญอีก 1 ฉบับ ที่รัฐสภากำลังพิจารณากัน นั่นคือร่าง พ.ร.บ.การออกเสียงประชามติ ที่ต้องรอลุ้นว่าสัปดาห์หน้าจะผ่านวาระ 3 หรือไม่ หลังจากกรรมาธิการกำลังถกกันเพื่อให้ได้ข้อสรุปขั้นสุดท้าย
สนามเลือกตั้งท้องถิ่นวันพรุ่งนี้ เป็นอีกสนามที่ต้องจับตา และถือเป็นลอตที่ 2 ของการเลือกตั้ง หลังจากก่อนหน้านี้เราเลือกตั้ง นายก อบจ. กันมาแล้ว นักวิชาการประเมินว่าพื้นที่ยังคงตื่นตัว และแพ้-ชนะสูสี
หลังจากถูกรัฐสภาคว่ำ ดูเหมือนว่าการเสนอร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญต้องเริ่มนับหนึ่งใหม่ นักวิชาการมองว่า เมื่อดูจากไทม์ไลน์แล้ว เชื่อว่า ไม่ได้รัฐธรรมนูญใหม่ในรัฐบาลชุดนี้แน่นอน
17 มีนาคมนี้ ที่ประชุมร่วมรัฐสภา สมัยวิสามัญ นัดพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม วาระ 3 แต่ดูเหมือนว่ายังมีข้อถกเถียงว่าจะเดินหน้าต่อได้ หรือต้องชะลอเพื่อทำประชามติก่อน
คำวินิจฉัยของศาลถูกหยิบไปตีความได้ 2 แนวทาง ฝ่ายหนึ่งมองว่าเดินหน้าลงมติวาระ 3 ในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ ส่วนอีกฝ่ายมองว่าทำไม่ได้ ติดตามจากรายงาน
วันพรุ่งนี้ศาลรัฐธรรมนูญนัดวินิจฉัยอำนาจรัฐสภา ในการเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 256 (1) ได้หรือไม่ โดยนักวิชาการมองว่าน่าจะพิจารณา 3 แนวทาง