ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : การป้องกันปัจจัยเสี่ยงโรคพาร์กินสัน

25 มีนาคม 2567 ปัจจัยเสี่ยงที่อาจก่อโรคพาร์กินสันได้มีอะไรบ้าง และจะมีวิธีการป้องกันอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.รุ่งโรจน์ พิทยศิริ หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 10 กรกฎาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปัจจัยเสี่ยงโรคพาร์กินสัน

20 มีนาคม 2567 – โรคพาร์กินสันเกิดจากสาเหตุใด ปัจจัยเสี่ยงคืออะไรต่อการเกิดโรคมีอะไรบ้าง ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร​์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.รุ่งโรจน์ พิทยศิริ หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 10 กรกฎาคม 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : อาการและการรักษาโรคพาร์กินสัน

7 มีนาคม 2567 บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับ สัญญาณของโรคพาร์กินสัน มีอาการอะไรบ้าง และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.รุ่งโรจน์ พิทยศิริ หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย สัญญาณเตือนโรคพาร์กินสัน อาการสั่น ส่วนมากเป็นสั่นข้างเดียว ควบคุมตนเองไม่ได้ หากอายุน้อยมักมีอาการเกร็ง เคลื่อนไหวช้า ทรงตัวได้ไม่ดี นอกจากนี้ยังอาจมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วยได้ เช่น ก้าวสั้นแต่ก้าวถี่ เขียนหนังสือตัวเล็กลง การรักษาโรคพาร์กินสัน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ช่วยรักษาบรรเทาอาการไม่ให้แย่ลง โดยที่โรคพาร์กินสันจะมีความก้าวหน้าของโรคไปเรื่อย ๆ การรักษาสามารถรักษาด้วยยา และการผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นสมองส่วนลึก เพื่อลดอาการสั่น แต่การผ่าตัดอาจมีข้อจำกัดซึ่งอาจไม่สามารถทำได้กับผู้ป่วยทุกราย สัมภาษณ์เมื่อ : 10 กรกฎาคม 2566ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : รู้จักโรคพาร์กินสัน

3 มีนาคม 2567 – โรคพาร์กินสันคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด เกิดได้ในคนกลุ่มไหน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.นพ.รุ่งโรจน์ พิทยศิริ หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคพาร์กินสันและกลุ่มโรคความเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โรคพาร์กินสัน คืออะไร ? โรคพาร์กินสัน เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมองทำให้การผลิตสารโดพามีนในร่างกายลดลง ผู้ป่วยจะมีปัญหาหลัก คือ อาการสั่น เคลื่อนไหวช้า เกร็ง และเดินลำบาก สาเหตุของโรคพาร์กินสัน เนื่องจากโรคพาร์กินสันเกิดจากสาเหตุที่หลากหลาย เกิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ที่มารวมกันและเหมาะเจาะในคน ๆ หนึ่ง เช่น ผู้ป่วยบางรายที่อาจจะมีประวัติคนในครอบครัวเคยเป็นพาร์กินสัน อายุที่เพิ่มมากขึ้นความเสี่ยงพาร์กินสันก็เพิ่มมากขึ้น อาการของโรคพาร์กินสัน โรคพาร์กินสัน แม้ว่าจะเป็นโรคที่แสดงออกเกี่ยวกับความผิดปกติของการเคลื่อนไหว แต่ก็มีอาการอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากการเคลื่อนไหวเกิดร่วมในผู้ป่วยได้ อาการของโรคพาร์กินสัน คือ อาการที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวช้าลง ร่วมกับ อาการสั่น เป็นต้น อาการที่ควรสังเกต ผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน มีอาการที่พบได้บ่อย ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวช้า อาการสั่นของส่วนต่าง ๆ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ : วางสบู่ใต้เตียงแก้โรคขาอยู่ไม่สุข จริงหรือ?

บนสังคมออนไลน์แชร์แนะนำว่า หากนำสบู่มาวางใต้ที่นอนจะแก้โรคขาอยู่ไม่สุข RLS ได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามกับศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

ชัวร์ก่อนแชร์ : ดื่มนม LOW FAT เสี่ยงเป็นโรคพาร์กินสันจริงหรือ ?

บนสังคมออนไลน์มีการแชร์เตือนว่า การดื่มนมประเภทไขมันต่ำ หรือ LOW FAT เสี่ยงทำให้เป็นโรคพาร์กินสันได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ? ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์

...