ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : SEXUAL ABUSE — ภัยคุกคามทางเพศที่ไม่ควรเพิกเฉย !

14 ธันวาคม 2567 – สิ่งนี้…เป็นปัญหาระดับโลกที่ถูกพัฒนาอย่างหลากหลาย และรวดเร็ว และ สิ่งนี้ …คือภัยการล่วงละเมิดทางเพศ ที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช กรรมการผู้จัดการมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย (สัมภาษณ์เมื่อ 4 กันยายน 2567) ภัยคุกคามทางเพศในโลกออนไลน์เป็นปัญหาที่ร้ายแรงและกำลังเป็นที่พูดถึงอย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการล่วงละเมิดทางเพศเด็ก ซึ่งมีรูปแบบการกระทำผิดที่หลากหลายขึ้นในยุคดิจิทัล การล่วงละเมิดทางเพศออนไลน์ ไม่จำเป็นต้องมีการสัมผัสทางกาย แค่การพูดคุย ชักชวน โน้มน้าว หรือส่งข้อความ/ภาพ/วิดีโอที่ไม่เหมาะสมก็ถือเป็นการล่วงละเมิดทางเพศได้ การใช้ AI ในการสร้างเนื้อหาลามกอนาจารเด็ก แม้จะไม่มีเด็กจริง ๆ มาเกี่ยวข้อง แต่ก็ถือเป็นความผิดตามกฎหมายไทย ผลกระทบจากการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ ส่งผลต่อสภาพจิตใจของเหยื่อในระยะยาว การป้องกัน ผู้ปกครองควรให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุตรหลานเกี่ยวกับภัยออนไลน์ และรู้เท่าทันกลโกงของคนร้าย ตัวอย่างของภัยคุกคามทางเพศออนไลน์ ผลกระทบจากการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ การป้องกันการถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ หากคุณหรือคนที่คุณรักถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ บทสรุป ภัยคุกคามทางเพศออนไลน์เป็นปัญหาที่ร้ายแรงและกำลังเป็นที่พูดถึงอย่างมากในปัจจุบัน ผู้ปกครองและครูอาจารย์ควรให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุตรหลานเกี่ยวกับภัยคุกคามทางเพศออนไลน์ และสอนให้เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตัวเอง หากคุณหรือคนที่คุณรักถูกละเมิดทางเพศออนไลน์ ควรแจ้งความกับตำรวจและปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต  ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย […]

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : Social Conformity ? — เมื่อความคิด ยึดติดตามสังคม !

30 พฤศจิกายน 2567 – สิ่งนี้…เป็นพฤติกรรมธรรมชาติของมนุษย์ ที่ต้องการเป็นที่ยอมรับ และ สิ่งนี้ …สามารถเปลี่ยนเรื่องผิดให้เป็นเรื่องถูกได้ หากคนส่วนใหญ่มองว่าถูก คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.อภิสิทธิ์ ศุภกิจเจริญ คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง สัมภาษณ์เมื่อ 6 กันยายน 2567 ผศ.ดร.เจษฎา ศาลาทอง อาจารย์ประจำภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ 27 ตุลาคม 2565 Social Conformity คืออะไร? Social Conformity คือพฤติกรรมที่มนุษย์ต้องการการยอมรับจากสังคม จนบางครั้งอาจทำให้เรื่องผิดกลายเป็นเรื่องถูกได้หากคนส่วนใหญ่มองว่าถูก ในสังคมออนไลน์ Social Conformity ส่งผลทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ดังนี้ ปัจจัยที่ทำให้เกิด Social Conformity ข้อควรระวัง ก่อนที่จะคล้อยตามสังคม ควรมีจุดยืนของตัวเอง มีความมั่นใจในตัวเอง และใช้ critical thinking พิจารณาว่าสิ่งนั้นดีหรือไม่ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : Watering Hole — การโจมตี เสมือนกับดักล่าเหยื่อ

23 พฤศจิกายน 2567 สิ่งนี้…เป็นการโจมตีทางไซเบอร์ที่เปรียบเสมือนพฤติกรรมของสัตว์นักล่า ที่ดักรอเหยื่ออยู่ และ สิ่งนี้ …ถูกใช้เป็นเครื่องมีสำหรับโจมตีระดับองค์กร หรือประเทศ ที่มีอัตราความสำเร็จสูง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ Watering Hole คืออะไร? Watering Hole เป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่แฮกเกอร์จะเจาะระบบเว็บไซต์ที่คนนิยมเข้าใช้งาน เมื่อเหยื่อเข้าเว็บไซต์นั้น ก็จะติดมัลแวร์ หรือถูกขโมยข้อมูล โดยไม่รู้ตัว เปรียบเหมือนสัตว์นักล่าที่วางยาพิษไว้ที่แหล่งน้ำ ซึ่งสัตว์ต่างๆ ต้องมากินน้ำ ตัวอย่าง Watering Hole วิธีป้องกัน สรุป : Watering Hole เป็นภัยคุกคามที่อันตราย เพราะแฝงตัวอยู่ในเว็บไซต์ที่เราใช้งานเป็นประจำ ดังนั้น เราควรระมัดระวัง และป้องกันตัวเองอยู่เสมอ สัมภาษณ์เมื่อ 5 กันยายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา […]

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : HURDLESO IFRUNGS ? — เทคนิคคนร้าย อันตรายเพียงแอบมอง !

16 พฤศจิกายน 2567 – สิ่งนี้…เป็นกลอุบายการขโมยข้อมูลส่วนตัวทุกรูปแบบ ผ่านการสังเกตโดยตรง และ สิ่งนี้ …มักเกิดขึ้นในที่สาธารณะ ที่ใกล้ตัวจนอาจคาดไม่ถึง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 28 สิงหาคม 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : BAITING ? — ภัยอันตราย จากการล่อลวง !

9 พฤศจิกายน 2567 – สิ่งนี้…คือ ภัยอันตรายที่มิจฉาชีพมักใช้รางวัล หรือสิ่งตอบแทนมาเป็นเหยื่อล่อ และ สิ่งนี้ …เป็นหนึ่งในรูปแบบกลวิธีจิตวิทยา Social Engineering ที่ใช้หลอกลวงผู้คน คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ BAITING หรือ เหยื่อล่อ คืออะไร? ตัวอย่างเหยื่อล่อ วิธีป้องกัน สิ่งสำคัญคือ ต้องระวัง อย่าโลภ และอย่าหลงเชื่อคำล่อต่างๆ ของมิจฉาชีพ เพราะสุดท้ายแล้ว เราอาจตกเป็นเหยื่อโดยไม่รู้ตัว สัมภาษณ์เมื่อ 5 กันยายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยงเรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : VERGEEN NPRO ? — ภัยคุกคาม เพื่อหวังแก้แค้น !

2 พฤศจิกายน 2567 สิ่งนี้…ถือเป็นความรุนแรงทางเพศบนโลกออนไลน์ เพื่อหวังแก้แค้น และ สิ่งนี้ …ผู้กระทำมักเป็นคนใกล้ชิด ที่เหยื่อที่เหยื่อให้ความรัก และไว้วางใจ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช กรรมการผู้จัดการมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 4 กันยายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : GADILIT AFIEGUT ? — พิษสงจากการใช้เครื่องมือดิจิทัล มากเกินไป !

26 ตุลาคม 2567 – สิ่งนี้…เป็นสภาวะเหนื่อยหน่ายทางจิตใจที่เกิดจากการใช้เครื่องมือดิจิทัลมากเกินไป และ สิ่งนี้ …จากข้อมูลของ ETDA ระบุว่า เป็นหนึ่งในเหตุผลที่ทำให้คนไทย มีภาวะหมดไฟเพิ่มมากขึ้น คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.อภิสิทธิ์ ศุภกิจเจริญ คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง สัมภาษณ์เมื่อ 6 กันยายน 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ CHECK-LIST : 5 เรื่องฮิต สารพัดข้อสงสัยของการผ่าฟันคุด จริงหรือ ?

25 ตุลาคม 2567 – บนโซเชียลมีการแชร์สารพัดข้อสงสัยเกี่ยวกับสุขภาพฟันและการผ่าฟันคุด บ้างก็ว่าตำกระเทียมและเกลือป่นนำไปอุด แก้ปวดฟันได้ อย่างไรก็ตามก็มีเตือนอันตรายถึงการผ่าฟันคุดอาจทำให้เป็นอัมพาต ?! ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ศ.ทพ.ดร.ธนภูมิ โอสถานนท์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แพทย์แผนไทย คมสัน ทินกร ณ อยุธยา รองคณบดี วิทยาลัยตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.ทพญ.ดร.ภัคสินี กมลรัตนกุล ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.ทพ.พรชัย จันศิษย์ยานนท์ ประธานราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : MGNIAG SIDRODRE ? — อันตรายจากการเล่นเกมมากเกินไป !

5 ตุลาคม 2567 สิ่งนี้… องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้เป็นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง และ สิ่งนี้…เป็นปัญหาที่เกิดกับเด็ก และเยาวชนไทยมากขึ้นในปัจจุบัน คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช กรรมการผู้จัดการมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย สัมภาษณ์เมื่อ : 4 กันยายน 2567 🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : TUBETWES ? — พฤติกรรมชอบแซะ บนทวิตเตอร์

24 สิงหาคม 2567 – สิ่งนี้…เป็นพฤติกรรมคล้ายการเหน็บแนม หรือพูดแซะอีกฝ่าย บนทวิตเตอร์ และ สิ่งนี้…อาจทำให้เกิดปรากฏการณ์ Echo Chamber สำหรับผู้กระทำได้ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ 13 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ KEYWORD : UNCOILEXS ? — การกลั่นแกล้ง ที่เจ็บปวดมากที่สุด

29 มิถุนายน 2567 สิ่งนี้…ถือเป็นการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์รูปแบบหนึ่ง ที่ทำให้ผู้ถูกกระทำรู้สึกเจ็บปวดมากที่สุด และสิ่งนี้…มีงานวิจัยพบว่า เป็นพฤติกรรมที่ส่งผลต่อระบบประสาทของผู้ถูกกระทำ ก่อให้เกิดผลเสียทั้งร่างกาย และจิตใจ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน 🎯 ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ. ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ 27 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : BRANDYCHOICER ? — ยิ่งเสิร์ชข้อมูล ยิ่งป่วยร้ายแรง

25 พฤษภาคม 2567 สิ่งนี้…เป็นความกังวลจากการวินิจฉัยโรคให้ตนเอง ผ่านข้อมูลที่ค้นหาบนโลกออนไลน์ และเคยมีงานวิจัยจากบริษัท Microsoft พบว่า กว่า 70% ของคนที่มีอาการอย่าง สิ่งนี้ มักค้นหาข้อมูลที่ร้ายแรงขึ้นในอนาคต คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 13 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

1 2 3
...