สรรพสามิต เผย 8 เดือนแรกงบฯปี 67 จัดเก็บภาษีเพิ่มขึ้น 11.4%
สรรพสามิต จัดเก็บภาษี 8 เดือนแรก งบประมาณปี 67 กว่า 3.4 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.4 แต่ยังต่ำกว่าเป้าที่ร้อยละ 25 พบสัญาณเศรษฐกิจฟื้นตัวจากภาษีเครื่องดื่ม เพิ่มถึงร้อยละ 11.3
สรรพสามิต จัดเก็บภาษี 8 เดือนแรก งบประมาณปี 67 กว่า 3.4 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.4 แต่ยังต่ำกว่าเป้าที่ร้อยละ 25 พบสัญาณเศรษฐกิจฟื้นตัวจากภาษีเครื่องดื่ม เพิ่มถึงร้อยละ 11.3
สศอ.เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนแรก ปี 2567 อยู่ที่ระดับ 99.15 หดตัวร้อยละ 2.94 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากเศรษฐกิจในประเทศยังฟื้นตัวได้ช้าหลังปัญหาหนี้ภาคครัวเรือนอยู่ในระดับสูง และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลต่อต้นทุนทางการเงินและภาระหนี้ของผู้ประกอบการ ด้านการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 10.30 ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 คาดจะทำให้ดัชนี MPI หลังจากนี้ปรับตัวดีขึ้น
ซีอีโอ ธ.กรุงเทพ เชื่อธุรกิจแบงก์ยังเติบโต ตามทิศทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว หนุนรัฐส่งเสริมมาตรการดึงดูดการลงทุน
เลขาฯ กนง.เผยอาจปรับขึ้นดอกเบี้ยได้อีก เหตุเศรษฐกิจฟื้นตัวต่อเนื่อง เงินเฟ้อลดจับตานโยบายเศรษฐกิจรัฐบาลใหม่ ประเมินรองรับความเสี่ยง เชื่อตั้งรัฐบาลได้ตามไทม์ไลน์
แม่ฮ่องสอน คึกคัก! นักท่องเที่ยวต่างชาติ ปาร์ตี้ล่องห่วงยางแช่น้ำในลำน้ำปาย ธุรกิจท่องเที่ยวฟื้นตัวจากพิษโควิด-19 ราคาที่ดินพุ่งสูงขึ้น มีธุรกิจใหม่ๆ เกิดขึ้น
นายกฯ เผย สถานการณ์เศรษฐกิจดีขึ้น หลังท่องเที่ยวฟื้นตัว ย้ำ รัฐดูแลเอสเอ็มอีให้เข้มแข็งมากขึ้น ชี้ ติเตียนกันมาก ก็ไม่เกิดประโยชน์
“อาคม เติมพิทยาไพสิฐ” ระบุเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวดีขึ้นจากมาตรการของรัฐ ที่ช่วยเหลือด้านสภาพคล่องให้แก่ผู้ประกอบการรายใหญ่และรายย่อย
หลายคนคงวิตกกังวลเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทยและมีคำถามมากมายว่า เศรษฐกิจไทยหลังช่วงโควิด-19จะเป็นอย่างไรจะดำเนินไปในทิศทางไหน แล้วที่ บอกว่า “เศรษฐกิจไทยหลังโควิด 19 จะฟื้นตัวแบบเครื่องหมายถูกหางยาว”
เกาหลีใต้ขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายครั้งแรกในรอบกว่า 6 ปีในวันนี้ บ่งชี้ว่าเศรษฐกิจฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งแม้ถูกคุกคามจากเกาหลีเหนือ
ธปท. 2 ต.ค. – ผู้ว่าการธปท. ยืนยันเศรษฐกิจฟื้นตัวชัดเจน เห็นการจ้างงานเพิ่มในภาคส่งออก ยังจับตานโยบายการเงินสหรัฐและความตึงเครียดเกาหลี กดดันเงินทุนไหลเข้า นายวิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า การที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง. ) ปรับอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ( จีดีพี) ปีนี้ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 3.8 จากร้อยละ 3.5 และ ปรับจีดีพีปี 2561 เพิ่มเป็นโตร้อยละ 3.8 จากร้อยละ 3.7 สะท้อนถึงแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ชัดเจนมากขึ้นโดยเฉพาะภาคการส่งออก ที่ขยายตัวทุกหมวดสินค้าและในตลาดที่หลากหลายมากขึ้น ขณะที่การท่องเที่ยวปรับตัวดี ส่งผลให้มีการจ้างงานเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งออก ประกอบกับการบริโภคฟื้นตัว ทำให้ กนง. ปรับเพิ่มจีดีพีครั้งนี้ นอกจากนี้ยังพบว่า หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้หรือเอ็นพีแอลในกลุ่มภาคการส่งออกมีสัญญาณดีขึ้น และการขอสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ก็ขยายตัวดีขึ้นเช่นกัน ส่วนอัตราเงินเฟ้อที่มีการปรับลดลง อยู่ที่ร้อยละ 0.6 เนื่องมาจากราคาสินค้าเกษตรในปีก่อน มีฐานสูงเพราะเผชิญสถานการณ์ภัยแล้ง แต่ในปีนี้ราคาสินค้าเกษตรปรับลดลงจึงทำให้อัตราเงินเฟ้อปรับลง ส่วนสถานการณ์ค่าเงินบาทที่มีการเปลี่ยนแปลงแข็งค่าขึ้น เนื่องจากค่าเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า ซึ่งยังต้องติดตามการเคลื่อนไหวอย่างใกล้ชิด โดยเงินทุนต่างชาติจะไหลเข้า-ออก มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับมุมมองต่อเศรษฐกิจประเทศขนาดใหญ่ […]