ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : BRANDYCHOICER ? — ยิ่งเสิร์ชข้อมูล ยิ่งป่วยร้ายแรง

25 พฤษภาคม 2567 สิ่งนี้…เป็นความกังวลจากการวินิจฉัยโรคให้ตนเอง ผ่านข้อมูลที่ค้นหาบนโลกออนไลน์ และเคยมีงานวิจัยจากบริษัท Microsoft พบว่า กว่า 70% ของคนที่มีอาการอย่าง สิ่งนี้ มักค้นหาข้อมูลที่ร้ายแรงขึ้นในอนาคต คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 13 พฤษภาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : MRISPEOATNOIN ? — กลโกงยอดฮิต มิจฉาชีพมักทำ

18 พฤษภาคม 2567  สิ่งนี้… คือ การแอบอ้าง หรือการปลอมตัวเป็นบุคคลอื่น และ สิ่งนี้…ถูกใช้เป็นวิธีการหลอกของมิจฉาชีพ ที่เคยสร้างความเสียหายจากสถิติแจ้งความออนไลน์กว่า 4 ร้อยล้านบาท คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 15 มีนาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : RACYVIP AINVINOS ? — ภัยร้ายใกล้ตัว จากการหลุดรั่ว โดยไม่คาดคิด !

11 พฤษภาคม 2567 – สิ่งนี้…เป็นภัยใกล้ตัว อันเกิดจากพฤติกรรม หรือกิจกรรมที่ทำบนโลกออนไลน์ และ สิ่งนี้…เคยเกิดขึ้นกับคนไทย (ที่มา : Resecurity) ข้อมูลกว่า 20 ล้านบัญชี ถูกประกาศขายบนดาร์กเว็บ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 15 มีนาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : EOZR-YAD PXTEOIL ? — อาวุธไซเบอร์ ที่อาศัยช่องโหว่จากความไม่รู้ !

4 พฤษภาคม 2567 สิ่งนี้…เป็นอาวุธไซเบอร์ ที่มีมูลค่าการโจมตีขั้นสูงสุด ของ Hacker และสิ่งนี้… ถูกใช้ประโยชน์จากช่องโหว่ของ Hardware หรือ Software ที่ยังไม่ถูกค้นพบ หรือเพิ่งค้นพบใหม่ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ 15 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : ATOXICITYFUELS ? — เปิดโหมดรัก แต่เธอดันเป็นโลกสมมุติ

27 เมษายน 2567 สิ่งนี้…เป็นอารมณ์ความรู้สึกทางเพศต่อตัวละครในโลกสมมุติ ที่ไม่มีอยู่จริง และสิ่งนี้… อาจเกิดจากการเสพสื่อมากเกินไป จนรู้สึกอิน และไม่สามารถแยกแยะโลกเสมือนกับความจริงได้ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ 7 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : EHAT GALSTINK ? — ไม่ชอบนะ แต่ตามส่องรู้ทุกเรื่อง !

20 เมษายน 2567 สิ่งนี้…เป็นพฤติกรรมที่พบได้บ่อยในโลกยุคดิจิทัล และสิ่งนี้… อาจกลายเป็นการเสพติดความสุข จากการตามส่องคนที่เราไม่ชอบ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ : 7 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : LACKBITIC ? — จุดเริ่มต้นข่าวลวง หลอกล่อให้หลงคลิก

13 เมษายน 2567 – สิ่งนี้…ทำให้เกิดปัญหาข้อมูลข่าวสารปลอม หรือบิดเบือนได้ และสิ่งนี้… พบว่า ปรากฏบนสื่อออนไลน์ในปัจจุบัน เป็นจำนวนมาก คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ สัมภาษณ์เมื่อ : 15 มีนาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : SLEEP TEXTING – โรคยอดฮิต ของคนติดแชต

6 เมษายน 2567 สิ่งนี้…เป็นอาการคลั่งแชต ที่เกิดจากการใช้โซเชียลเน็ตเวิร์กทุกชนิดมากเกินไป และสิ่งนี้… เสี่ยงต่อภัยคุกคามทางสุขภาพ นอนหลับไม่สนิท หรือฝันร้าย คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล SLEEP TEXTING โรคละเมอแชต เป็นพฤติกรรมที่มีการใช้โทรศัพท์ เพื่อตอบข้อความหรือส่งข้อความไปหาผู้อื่นขณะที่กำลังนอนหลับ สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน รวมไปถึงการติดโซเชียลทุกชนิด ทำให้มุ่งความสนใจไปที่เครื่องมือสื่อสารเหล่านี้แทบจะทุกนาที จนกลายเป็นความวิตกกังวลต่อข้อความที่ถูกส่งมา แม้กระทั่งเวลาจะหลับก็ยังเอามือถือไปจิ้มเล่นเรื่อยเปื่อย และหลับไปพร้อมกับโทรศัพท์ที่ยังคามือหรือวางนิ่งอยู่ข้างตัว ปัญหาที่ตามมาก็คือ ร่างกายจะอ่อนแอจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ทำให้เกิดโรคอ้วน ภาวะซึมเศร้า และอาจส่งผลกระทบในการเรียนหรือการทำงาน อาจารย์แนะนำว่า การเล่นโซเชียลมีเดียควรทำแต่พอดี หากติดมากควรลองอยู่ห่างจากสมาร์ทโฟน ตัดใจปิดมือถือ ปิดเสียง หรือปิดสัญญาณอินเทอร์เน็ตก่อนนอน วิธีนี้จะช่วยให้ห่างไกลจากการละเมอแชต และฟื้นฟูสุขภาพการนอนหลับให้เต็มอิ่ม ตื่นเช้ามาพร้อมความสดชื่น แจ่มใส ร่างกายแข็งแรงขึ้น สัมภาษณ์เมื่อ : 7 มีนาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ […]

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : PATHOLOGICAL LIAR? — ติดโกหก มโนเก่ง จนเป็นโรค โดยไม่รู้ตัว !

30 มีนาคม 2567 สิ่งนี้…เป็นอาการผิดปกติทางจิต ที่ทำให้พูดโกหกเรื่อย ๆ จนคิดว่า เรื่องนั้นเป็นเรื่องจริง และสิ่งนี้… ถูกกระตุ้นให้เกิดมากยิ่งขึ้นในปัจจุบันจากโลกโซเชียลมีเดีย คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ อาจารย์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ อาจารย์ประจำสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล PATHOLOGICAL LIAR คืออะไร ? คือ การหลอกตัวเอง สร้างเรื่องโกหกเพื่อเพิ่มคุณค่าให้ตัวเอง เพื่อสร้างความประทับใจต่อผู้อื่น สาเหตุของการหลอกตัวเอง มักจะเกิดจาก “ปม” ในอดีต พฤติกรรมนี้ทำไปเพื่อการปรับตัวและการอยู่รอดของมนุษย์ เมื่อทำบ่อย ๆ ก็จะเริ่มเกิดความเคยชิน และสิ่งที่อันตราย คือ จะเริ่มแยกไม่ออกว่าเรื่องไหนคือเรื่องจริง เรื่องไหนคือเรื่องโกหก ปัจจุบันโซเชียลมีเดีย ทำให้ผู้คนติดต่อสื่อสารกันง่ายขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน ก็ทำให้เกิดการเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อื่นเช่นกัน หลายคนจึงสร้างตัวตนที่สมบูรณ์แบบขึ้นมา เพื่อเติมเต็มในส่วนที่ตัวเองขาด ดังนั้นการโกหกอาจไม่ใช่วิธีที่ดีในการสร้างความสุข และยังอาจส่งผลกระทบกลับมาทำร้ายตัวเองได้ ดังนั้นการเปิดใจและยอมรับการเป็นตัวของตัวเอง ไม่หลอกลวง จะส่งผลในทางที่ดีกว่า สัมภาษณ์เมื่อ : 7 มีนาคม […]

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : CONTINUALHAIL ? — อาการที่ AI ก็เป็นได้ จนน่าขนลุก !

23 มีนาคม 2567 สิ่งนี้… เป็นความผิดปกติทางการรับรู้ จนทำให้เกิดความสับสน และสิ่งนี้… ส่งผลให้เกิดความเชื่อที่ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ. ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 12 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : AERG IABT ? — คอนเทนต์ยั่วโมโห สร้างกระแส !

24 กุมภาพันธ์ 2567 สิ่งนี้… คือรูปแบบคอนเทนต์ ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสพติดความโมโห หรือดราม่าในปัจจุบัน และสิ่งนี้… ส่งผลกระทบการสร้างสัมพันธ์ทั้งในสังคมออนไลน์และในชีวิตจริง คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ. ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 12 กุมภาพันธ์ 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

ชัวร์ก่อนแชร์ Keyword : SIGHTONG ? — ความสัมพันธ์แบบผี ที่อยู่ดี ๆ ก็หายไป

17 กุมภาพันธ์ 2567 สิ่งนี้… เปรียบเสมือนผีในสังคมดิจิทัล และสิ่งนี้… กลายเป็นวิธีจบความสัมพันธ์ยอดนิยมของผู้คนสมัยใหม่ คือคำว่าอะไร ? มาร่วมไขคำตอบของคำปริศนากัน ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.สกุลศรี ศรีสารคาม อาจารย์ประจำภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัมภาษณ์เมื่อ : 12 กุมภาพันธ์ 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : จิรัชยา นวลนิ่มน้อย และ จิราภา อ่อนเกลี้ยง

1 2 3
...