นักวิชาการวิเคราะห์ปัญหาใน พปชร.ยังไม่จบ
นักวิชาการวิเคราะห์ตรงกันว่าปัญหาในพรรคพลังประชารัฐยังไม่จบ และการที่ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ยังนั่งเป็นเลขาธิการพรรค อาจมีผลต่อเสถียรภาพของรัฐบาล
นักวิชาการวิเคราะห์ตรงกันว่าปัญหาในพรรคพลังประชารัฐยังไม่จบ และการที่ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ยังนั่งเป็นเลขาธิการพรรค อาจมีผลต่อเสถียรภาพของรัฐบาล
ยืดเยื้อกันมานานตลอดทั้งสัปดาห์ กับประเด็นปลด ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ออกจากเลขาธิการพรรคพลังประชารัฐ ในที่สุดที่ประชุมกรรมการบริหารพรรคได้บทสรุปแล้ว
คลื่นลมในพรรคพลังประชารัฐก่อตัวมาต่อเนื่อง ต้องจับตาการเดินเกมแก้ปัญหา หลังมีข่าวนายกรัฐมนตรีเรียก 6 รัฐมนตรี หารือ กรณี ส.ส. ไม่พอใจโพลของ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า พร้อม ๆ กับมีข่าวกรรมการบริหารพรรคจะลาออก หวังเปลี่ยนเก้าอี้เลขาธิการพรรค
มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างต่อเนื่องว่า รัฐสภาแห่งใหม่ ที่มีมูลค่าการก่อสร้างถึงหมื่นล้านบาท เกิดเหตุการณ์น้ำรั่วไหลกลางห้องประชุมสภาฯ และบริเวณรอบอาคารอยู่ตลอด ปัญหาเหล่านี้เกิดจากอะไร และจะแก้ปัญหาเรื่องนี้ได้อย่างไร
ระแสดราม่า อดีตพระยันตระ กับการฉลองวันเกิดครบรอบ 70 ปี ท่ามกลางพระสงฆ์-แม่ชี และลูกศิษย์ที่ยังเคารพศรัทธา ทำให้เกิดข้อสงสัยในพฤติกรรมอีกครั้ง หลังเจ้าตัวลี้ภัยไปสหรัฐฯนานกว่า 20 ปี
นักวิชาการกังวลว่าหลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้นายไพบูลย์ นิติตะวัน สามารถเป็นสมาชิกพรรคพลังประชารัฐได้ หลังพรรคประชาชนสิ้นสภาพ จะทำให้เกิดปรากฏการณ์พรรคเล็กควบรวมพรรคใหญ่ได้ง่าย พร้อมเสนอแก้ไขกฎหมายลูกว่าด้วยพรรคการเมือง เพื่อป้องกันปัญหาในอนาคต
หลังนายกรัฐมนตรีปรับ 2 รมช. คือ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า และนางนฤมล ภิญโญสินวัฒน์ ออกจากตำแหน่ง กระแสข่าวการปรับคณะรัฐมนตรีมีต่อเนื่อง นักวิชาการเชื่อว่าจะต้องมีการปรับคณะรัฐมนตรีในตำแหน่งที่ว่าง เพื่อปูทางสำหรับการเลือกตั้งในอนาคต
กำลังเป็นที่ถกเถียงสำหรับกรณีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญปี 60 มาตรา 158 วรรค 4 ระบุว่า นายกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งรวมกันแล้วเกิน 8 ปี มิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดำรงตำแหน่งติดต่อกันหรือไม่ แต่มิให้นับรวมระยะเวลาในระหว่างที่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปหลังพ้นจากตำแหน่ง เรื่องนี้นักวิชาการมองว่าควรส่งศาลรัฐธรรมนูญตีความ
พรรคพลังประชารัฐยังคงใช้รัฐสภาเป็นที่ประชุม ท่ามกลางกระแสรอยร้าวภายใน แม้วันนี้ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ หัวหน้าพรรค ไม่เข้าร่วมประชุม แต่ส่งตัวแทน คือ ประธานยุทธศาสตร์พรรคคนใหม่ และเลขาธิการพรรคคนเดิม นั่งหัวโต๊ะแทน พร้อมประกาศสร้างความปรองดองในพรรค นำพลังประชารัฐเข้าสู่สนามเลือกตั้ง และกลับมาเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลอีกครั้ง
ช่วงนี้นายกรัฐมนตรี ขยันเดินสายลงพื้นที่ ท่ามกลางกระแสข่าวจะยุบสภา เลือกตั้งหรือไม่ เรื่องนี้มุมนักวิชาการประเมินอย่างไร ติดตามจากรายงาน
สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย ด้วยคะแนนท่วมท้น 368 เสียง ท่ามกลางการจับตาของนักสิทธิมนุษยชน รวมถึงครอบครัวผู้ได้รับผลกระทบ
วันนี้มีการประชุมพรรคพลังประชารัฐ ที่อาคารรัฐสภา เป็นที่จับตาถึงความชัดเจนเรื่องการปรับโครงสร้างพรรค