ชัวร์ก่อนแชร์ : ริกเตอร์หรือแมกนิจูด? ไขความต่างของสองคำที่มาพร้อมแรงสั่นสะเทือน

จากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด 8.2 ความลึก 10 กิโลเมตร ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ใกล้กับเมืองมัณฑะเลย์ ในประเทศเมียนมา เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประชาชนตระหนักและเริ่มให้ความสนใจกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวมากยิ่งขึ้น โดยคำศัพท์ที่ได้ยินจากการรายงานข่าว ได้แก่ “ริกเตอร์” และ “แมกนิจูด” มักก่อให้เกิดความสับสนว่า แท้จริงแล้วแผ่นดินไหวมีวิธีการวัดขนาดอย่างไร และค่าที่รายงานนั้นหมายถึงอะไรกันแน่ ดร.สุทธิพงษ์ น้อยสกุล อาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ข้อมูลผ่านรายการ Mahidol Science Café ถามตอบข้อสงสัยแผ่นดินไหว เอาไว้ว่า แท้จริงแล้วในการวัดค่าแผ่นดินไหวนั้น “ไม่มีหน่วยวัด” แต่ “ริกเตอร์” คือชื่อมาตราวัดขนาดแผ่นดินไหว ซึ่งมีการใช้อย่างแพร่หลาย ประเทศไทยก็ใช้มาตราริกเตอร์ในการวัดขนาดแผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน ริกเตอร์ กรมทรัพยากรธรณีให้ข้อมูลเกี่ยวกับมาตราริกเตอร์ (Richter scale) ไว้ดังนี้ มาตราริกเตอร์ (Richter scale) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2478 โดย Charles F.Richter […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปัญหาถุงใต้ตาบวม

16 มีนาคม 2568 – ปัญหาถุงใต้ตาบวมเกิดได้จากสาเหตุใดได้บ้าง ถุงใต้ตาบวมแบบไหนควรรีบพบแพทย์ และจะมีวิธีการดูแลและแก้ไขอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สาเหตุของถุงใต้ตาบวม: ถุงใต้ตาบวมแบบถาวร: เมื่ออายุมากขึ้น เนื้อเยื่อรอบดวงตาจะอ่อนลง ทำให้ไขมันเคลื่อนตัวและสร้างถุงได้ ซึ่งสามารถแก้ไขได้ด้วยการผ่าตัด ถุงใต้ตาบวมแบบชั่วคราว: อาการแพ้สามารถทำให้เกิดอาการบวมรอบดวงตาได้ นอกจากนี้ การนอนหลับไม่เพียงพอสามารถทำให้ของเหลวสะสมใต้ดวงตาได้ ถุงใต้ตาบวมแบบเฉียบพลัน: หากถุงปรากฏขึ้นอย่างกะทันหัน โดยเฉพาะหลังจากได้รับบาดเจ็บ ให้รีบไปพบแพทย์ทันที แล้วเมื่อใดควรไปพบแพทย์ ? หากบริเวณใต้ตาเป็นแผล โดยเฉพาะหลังจากเกิดอุบัติเหตุ กรณีเด็ก หากบริเวณใต้ตามีอาการบวมอย่างกะทันหันอาจบ่งบอกถึงโรคร้ายแรงได้ การดูแลและคำแนะนำ: หากเกิดอาการบวมที่ทั้งสองข้าง อาจเกิดจากอาการแพ้และไม่เป็นอันตราย สามารถบรรเทาอาการได้โดยการทานยาแก้แพ้หรือประคบเย็น หากเกิดอาการบวมข้างเดียว เป็นเรื่องเสี่ยงและควรไปพบแพทย์ สัมภาษณ์เมื่อ : 26 กุมภาพันธ์ 2568ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : โรคข้าวผัด

13 มีนาคม 2568 – โรคข้าวผัด หรือ Fried Rice Syndrome คืออะไร เกี่ยวอะไรกับข้าวผัด จะมีอาหารอื่นเป็นสาเหตุอีกหรือไม่ และจะเป็นอันตรายอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศ สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล(สัมภาษณ์เมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2568) โรคข้าวผัดคืออะไร ? โรคข้าวผัด หรือ Bacillus cereus Syndrome เป็นโรคอาหารเป็นพิษที่เกิดจากการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus cereus ในอาหารประเภทข้าวผัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวผัดที่ทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้องเป็นเวลานาน เชื้อนี้สามารถพบได้ในอาหารประเภทอื่น ๆ ที่มีข้าวและแป้งเป็นส่วนประกอบ เช่น พาสต้าและก๋วยเตี๋ยว  การปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย การปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียอาจเกิดจากการสุขาภิบาลอาหารที่ไม่ดี, การไม่ล้างมือ, หรือการปนเปื้อนจากอาหารอื่น ๆ เชื้อนี้อาจมีอยู่ในอากาศและปนเปื้อนลงในอาหารได้  ความเสี่ยง ความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นหากปรุงอาหารเสร็จแล้วทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้องนานกว่า 2 ชั่วโมง การอุ่นอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ Bacillus cereus อาจไม่สามารถทำลายเชื้อได้เนื่องจากต้องใช้ความร้อนสูง  การป้องกัน […]

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ผลเสียการจ้องจอในที่มืด

6 มีนาคม 2568 – การเล่นโทรศัพท์ในที่มืดจะส่งผลเสียต่อดวงตาอย่างไร จะมีวิธีการหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดผลเสียได้อย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย (สัมภาษณ์เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2568) การใช้โทรศัพท์ในที่มืดส่งผลเสียต่อดวงตาอย่างไร ? กลไกที่ทำให้เกิดจอประสาทตาเสื่อมจากการจ้องจอในที่มืด อันตรายและผลกระทบต่อดวงตา วิธีดูแลดวงตาและข้อแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ สรุป : การปรับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในการใช้สายตาเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้ดวงตาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพในระยะยาว ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : สัญญาณและการรักษา กระดูกสันหลังคด

13 มกราคม 2568 – รู้ได้อย่างไร ว่าเป็น กระดูกสันหลังคด หากเป็นกระดูกสันหลังคดแล้ว ควรจะทำอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.ดร.กภ. มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ อาจารย์คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล สัมภาษณ์เมื่อ 14 สิงหาคม 2567 สาเหตุของกระดูกสันหลังคด การสังเกตอาการ การรักษา ข้อควรระวัง ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : การดูแลดวงตาในผู้สูงอายุ

12 มกราคม 2568 – ผู้สูงวัยมีปัญหาโรคตาใดบ้างที่จะพบเจอเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น และจะมีวิธีการสังเกตปัญหาทางดวงตาอย่างไรบ้าง ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย โรคตาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ การดูแลดวงตาในผู้สูงอายุ ข้อควรระวัง สรุป วิดีโอนี้เน้นย้ำถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตาในผู้สูงอายุ โดยแนะนำให้ตรวจสุขภาพตาประจำปี ปฏิบัติตามคำแนะนำของจักษุแพทย์ และระวังการหลงเชื่อข้อมูลที่ไม่ถูกต้องจากโซเชียลมีเดีย สัมภาษณ์เมื่อ : 18 ธันวาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : วิธีตรวจตาด้วยตัวเอง

2 มกราคม 2568 – หลากหลายปัญหาทางดวงตา อาจเกิดขึ้นได้โดยไม่ทันสังเกต เราอาจรู้ตัวได้ง่าย ๆ ผ่านหลากหลายวิธีที่ทำได้ที่บ้าน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย (สัมภาษณ์เมื่อ 18 ธันวาคม 2567) วิธีตรวจตาเบื้องต้น ข้อควรระวัง สรุป การตรวจตาเบื้องต้นเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกในการตรวจสอบสุขภาพตาของเราเอง หากพบความผิดปกติทางสายตา ควรปรึกษาแพทย์ทันที ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ภาวะการมองเห็นภาพบิดเบี้ยว

6 ธันวาคม 2567 – ภาวะการเห็นภาพบิดเบี้ยวเกิดจากสาเหตุใด จะเกิดขึ้นกับคนกลุ่มไหน และจะเป็นสัญญาณอันตรายหรือไม่ ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย สัมภาษณ์เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย พีรพล อนุตรโสตถิ์

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ภาวะการมองเห็นภาพซ้อน

5 ธันวาคม 2567 – ภาวะการเห็นภาพซ้อน เกิดจากสาเหตุใด อันตรายหรือไม่ และจะมีวิธีการรักษาอย่างไร ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ รศ.นพ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์ ประธานวิชาการ ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ภาวะการมองเห็นภาพซ้อน (Diplopia) สาเหตุของการมองเห็นภาพซ้อน แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ คำแนะนำ หากพบอาการภาพซ้อน ควรรีบพบจักษุแพทย์เพื่อวินิจฉัยหาสาเหตุและรับการรักษาที่ถูกต้อง การรักษา ขึ้นอยู่กับสาเหตุ สัมภาษณ์เมื่อ : 12 พฤศจิกายน 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ Motor Check FACTSHEET : รู้จัก แร็กพวงมาลัยรถยนต์

26 พฤศจิกายน 2567 – บนสังคมออนไลน์มีข้อสงสัยเกี่ยวกับ แร็กพวงมาลัยว่า มีหน้าที่อย่างไร แบ่งเป็นกี่รูปแบบ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ติดตามข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบกับ คุณสุรมิส เจริญงาม นักทดสอบและผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยียานยนต์ แร็คพวงมาลัยคืออะไร? 1. แบบ Worm and Pion (เฟืองแบบตัวหนอน) 2. แบบไฮดรอลิก (พาวเวอร์) 3. แบบไฟฟ้า สรุป : แร็กพวงมาลัยแต่ละแบบมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับการใช้งานและเทคโนโลยีในยุคนั้น ๆ สัมภาษณ์เมื่อ : 25 ตุลาคม 2567ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : ณัฐพล อินทร์สวัสดิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : แมลงวัน

21 พฤศจิกายน 2567 – ทำไมแมลงวันเข้ามาในบ้าน เมื่อแมลงวันตอมอาหารยังกินต่อได้หรือไม่ แมลงวันจะแพร่เชื้อสู่คนได้อย่างไร และจะมีวิธีการจัดการกับแมลงวันด้วยวิธีไหน ต่อไปนี้คือข้อเท็จจริงและคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ 🎯 ตรวจสอบกับ ผศ.ดร.รัชฎาวรรณ เงินกลั่น รองหัวหน้าศูนย์วิจัยและเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านกีฏวิทยาชุมชนและสิ่งแวดล้อม และ อาจารย์ประจำ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทำไมแมลงวันถึงเข้าบ้าน? แมลงวันเลือกตอมอาหารที่สกปรกหรือไม่? แมลงวันแพร่เชื้อสู่คนได้อย่างไร? วิธีจัดการกับแมลงวัน ข้อควรจำ รักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ เพื่อป้องกันเชื้อโรคจากแมลงวัน สัมภาษณ์เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2566 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

ชัวร์ก่อนแชร์ FACTSHEET : ปวดหัว ยิ่งกินยา ยิ่งติดยา จริงหรือ ?

11 พฤศจิกายน 2567 – ปวดหัวแค่ไหน ถึงควรใช้ยา จริงหรือไม่ ยิ่งปวดหัว ยิ่งกินยา ยิ่งติดยา และทำให้ยิ่งปวดหัวกว่าเดิม 🎯 ตรวจสอบกับ อ.นพ.ประกิต อนุกูลวิทยา อายุรแพทย์โรคระบบประสาท คลินิกโรคปวดศีรษะ สาขาวิชาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กรรมการชมรมศึกษาโรคปวดศีรษะ ภายใต้สมาคมประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับยาแก้ปวดหัว ยาแก้ปวดหัวมี 2 กลุ่ม ได้แก่ คำแนะนำในการใช้ยาแก้ปวด สัมภาษณ์เมื่อ : 24 ตุลาคม 2567 ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย : พีรพล อนุตรโสตถิ์เรียบเรียงโดย : ชยานิษฐ์ ผ่องใส

1 2 3 9
...