ธ.กรุงไทย จับตาสงครามการค้าจีน-สหรัฐ
ธนาคารกรุงไทย คาดอัตราเงินเฟ้อ ต.ค. 0.83% จับตาสงครามการค้าจีน-สหรัฐ สินค้าจีนทุ่มตลาด หวั่นกระทบเงินเฟ้อ
ธนาคารกรุงไทย คาดอัตราเงินเฟ้อ ต.ค. 0.83% จับตาสงครามการค้าจีน-สหรัฐ สินค้าจีนทุ่มตลาด หวั่นกระทบเงินเฟ้อ
“พิชัย” รมว.คลัง มั่นใจ คลัง-ธปท. ประสานการทำงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ชี้คุยกันในทิศทางที่ชัดเจนเรื่องกรอบเงินเฟ้อ ดันเงินเฟ้อใกล้ระดับ 2% ย้ำช่วงเศรษฐกิจโตดอกเบี้ยต้องต่ำ และฝากให้ ธปท.ดูอัตราแลกเปลี่ยนไม่ให้เสียเปรียบคู่แข่ง
ธนาคารกรุงไทย ประเมินแนวโน้มกำลังซื้อผู้บริโภคยังอ่อนแอต่อเนื่อง สะท้อนจากเงินเฟ้อทั่วไปเดือน ก.ค. อยู่ที่ 0.83% แม้เร่งขึ้นจากเดือน มิ.ย. แต่ยังต่ำกว่าขอบล่างของกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อที่ 1%
อาบูจา 13 มิ.ย.- หลายฝ่ายในประเทศไนจีเรียยังกังขา หลังจากผู้นำไนจีเรียประกาศเปลี่ยนเพลงชาติ ให้กลับไปใช้เพลงชาติเก่าแทนเพลงชาติที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยไม่มีการสอบถามความเห็นจากประชาชน ยังเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันเรื่องการปรับเปลี่ยนเพลงชาติของไนจีเรีย หลังจากช่วงปลายเดือนที่แล้ว ประธานาธิบดี โบลา ทิบูนู ผู้นำไนจีเรีย ลงนามในร่างกฎหมายเปลี่ยนเพลงชาติที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ให้กลับไปใช้เพลงชาติของเดิมที่ถูกรัฐบาลเผด็จการทหารสั่งให้ยกเลิกไปตั้งแต่ปี 2521 ประธานาธิบดีทิบูนูให้เหตุผลว่า เพลงชาติของเดิมให้อารมณ์และความรู้สึกถึงความหลากหลายของผู้คนในประเทศไนจีเรียได้ดีกว่า เพลงชาติเดิมของไนจีเรีย มีชื่อว่า Nigeria, We Hail Thee เนื้อเพลงเขียนไว้เมื่อปี 2502 โดยชาวอังกฤษที่อพยพเข้ามาอยู่ในไนจีเรีย ใช้เป็นเพลงชาติของไนจีเรียตั้งแต่ปี 2503 จนถึงปี 2521 ก่อนถูกรัฐบาลทหารสั่งยกเลิก และให้หันมาใช้เพลง Arise, O Compatriots จนกระทั่งประธานาธิบดีให้กลับมาใช้เพลงชาติเดิม การตัดสินใจเปลี่ยนเพลงชาติของรัฐบาลไนจีเรีย ก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก หลายฝ่ายแสดงความเห็นทางสื่อออนไลน์ ไม่พอใจที่ผู้นำประเทศเร่งตัดสินใจเรื่องนี้โดยไม่ได้สอบถามความเห็นจากประชาชนก่อน บางคนบอกว่ารัฐบาลไนจีเรียคงว่างมาก ทั้งที่ยังมีปัญหาเร่งด่วนหลายอย่างที่เป็นความเดือดร้อนของประชาชนที่ต้องเร่งแก้ไข ทั้งปัญหาเงินเฟ้อ สินค้าราคาแพง และปัญหาอาชญากรรมในประเทศ.-815(814).-สำนักข่าวไทย
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาด กนง. 12 มิ.ย.นี้ คงดอกเบี้ยแม้เงินเฟ้อเดือน พ.ค. บวก 1.54% สูงสุดในรอบ 13 เดือน
ดัชนีราคาผู้บริโภค พ.ค.67 อยู่ที่ 108.8 ส่งผลอัตราเงินเฟ้อสูงขึ้น 1.54% (YoY) เหตุค่าไฟ-พลังงาน-ผักสด-ไขไก่ แพงขึ้น คาดกรอบเงินเฟ้อทั้งปี อยู่ที่ 0.0-1.0% ขณะที่ดัชนีเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ 52.4 ปรับเพิ่มขึ้นเดือนแรกหลังลดต่อเนื่อง 6 เดือน
ศูนย์วิจัยประเมินหากปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเป็น 400 บาททั่วประเทศในเดือน ต.ค 67 คาดจะเพิ่มแรงกดดันต่อเงินเฟ้อทั่วไปของไทยที่ราว 0.1% ในปีนี้หลัง เงินเฟ้อเดือน เม.ย. 2567 พลิกกลับเป็นบวกและมีแนวโน้มเป็นบวกต่อเนื่องในช่วงที่เหลือของปีนี้ ส่งผลให้โอกาสการลดดอกเบี้ยนโยบายน้อยลง
ดัชนีราคาผู้บริโภคของไทย เดือนเมษายน 2567 เท่ากับ 108.16 ทำให้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 0.19 (YoY) กลับมาเป็นบวกครั้งแรกในรอบ 7 เดือน โดยกระทรวงพาณิชย์ยังคงคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ปี 2567 อยู่ระหว่างร้อยละ 0.0 – 1.0
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ ปรับเพิมการคาดหมายการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกในปี 2024 จากร้อยละ 3.1 ที่คาดหมายไว้ในเดือนมกราคมเป็นร้อยละ 3.2 โดยให้เหตุผลว่า อัตราเงินเฟ้อลดลงและเศรษฐกิจสหรัฐแข็งแกร่งมากขึ้น
สนค.ปรับอัตราอัตราเงินเฟ้อทั้งปี หลังราคาพลังงานโลกปรับตัวสูงต่อเนื่อง และราคากลุ่มอาหาร-ผักสด ปรับสูงขึ้นเช่นกัน ส่งผลอัตราเงินเฟ้อทั้งปีเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.0-1.0 ส่วนเดือน มี.ค.67 ติดลบร้อยละ 0.47
YLG คาดทองไทยมีโอกาสแตะ 45,000 บาท ธนาคารกลางทั่วโลกยังตุนทอง หวั่นเงินเฟ้อ ชี้ไทยนำเข้าทองคำอันดับ 1 ในอาเซียน และเป็นอันดับ 3 ในเอเชีย รองจากจีน และอินเดีย เผย 2 เดือนแรกปี 67 นำเข้าแล้วเกือบ 30 ตัน
ธปท.เผยส่งออก ก.พ.67 ยังไม่ขยับ เงินเฟ้อยังติดลบร้อยละ -0.77 คาดอีก 2 เดือน กลับเป็นบวก ยกเว้นค่าธรรมเนียมบัตรเครดิตไปต่างประเทศ ซื้อสินค้าออนไลน์ 3 เดือน แนะลูกหนี้ร่วมโครงการแก้ปัญหาหนี้เรื้อรัง เริ่ม 1 เม.ย.67